Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ทักษะทางภาษาเพื่อ การสื่อสาร, unnamed (13), pngtree-reading…
บทที่ 4
ทักษะทางภาษาเพื่อ
การสื่อสาร
ทักษะด้านการส่งสาร
การพูด
ความหมายและ
ความสำคัญ
ของการพูด
การพูดมีความสำคัญต่อตนเอง
การพูดมีความสำคัญต่อผู้ฟังหรือผู้เกี่ยวข้อง
การพูดมีความสำคัญต่อการประกอบอาชีพ
การพูดมีความสำคัญต่อสังคม
การพูดมีความสำคัญต่อประเทศชาติ
ในการบริหารประเทศ
องค์ประกอบของการพูด
ผู้พูด
ผู้ฟังคือผู้รับสาร
เนื้อหาสาร
เครื่องมือในการสื่อความหมาย
จุดมุ่งหมายของการพูด
เพื่อสอนหรือแจ้งข่าวสารให้ทราบ
เพื่อกระตุ้นหรือสร้างความประทับใจ
เพื่อเกลี้ยกล่อมหรือจูงใจ
เพื่อความบันเทิง
ลักษณะของการพูด
อย่างมีประสิทธิภาพ
พูดเป็น พูดไม่เป็น
ทฤษฎีบันได 13 ขั้น
ตัวอย่างบทพูดใน
โอกาสสำคัญต่าง ๆ
การพูดแนะนำบุคคล
การพูดเมื่อได้รับเชิญให้พูด
ทักษะการพูดนำเสนอเชิงวิชาการ
ขั้นตอนการนำเสนอ
1.การศึกษาข้อมูล
2.การวางแผนการนำเสนอ
4.การประเมิน
3.การนำเสนอ
สื่อในการนำเสนอ
พลิปชาร์ต
วีดีทัศน์/ภาพยนตร์
แผ่นใส
Microsoft Office PowerPoint
โปสเตอร์
การเขียน
ความหมายและความสำคัญ
ของการเขียน
การเขียนเป็นการบันทึกทางสังคมที่ให้คุณค่า
การเขียนสามารถสร้างความรัก
สามัคคีในมนุษยชาติได้
การเขียนช่วยเผยแพร่
การเขียนสามารถยึดเป็นอาชีพที่สำคัญอย่างหนึ่ง
การเขียนเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดวัฒนธรรม
การเขียนสามารถทำให้บุคคล
ประสบความสำเร็จในชีวิตได้
การเขียนเป็นเครื่องมือสื่อสารของมนุษย์
ลักษณะของงานเขียนที่ดี
มีจุดมุ่งหมายในการเขียนที่ชัดเจน
มีเอกภาพ
มีรูปแบบการเขียนเหมาะสม
กับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา
มีสัมพันธภาพ
มีความกระจ่าง
มีเนื้อหาดีและรายละเอียดเด่นชัด
มีจินตนาการที่สอดคล้องกับเนื้อหา
ใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม
เรื่องราวชวนติดตาม
การพัฒนาทักษะการเขียน
หลักการ
เขียนย่อหน้า
โดยทั่วไปย่อหน้ามีความยาวโดย
ประมาณ 4 บรรทัด หรือ 100 คำ
ความสั้นยาวของแต่ละย่อหน้าในเรื่องหนึ่ง ๆ
นั้นไม่ควรให้แตกต่างกันมากนัก
การย่อหน้าต้องยาวพอที่จะ
อธิบายความคิดได้แจ่มแจ้ง
องค์ประกอบของย่อหน้า
ใจความสำคัญ
ประโยคขยายความ
กลวิธีขยาย
ใจความสำคัญ
ในย่อหน้า
ให้เหตุผล
ยกตัวอย่าง
ให้คำจำกัดความ
ให้รายละเอียด
เปรียบเทียบ
ลักษณะย่อหน้าที่ดี
สมบูรณ์
มีสัมพันธภาพ
มีเอกภาพ
มีสารัตถภาพ
ทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์
ความหมายของการ
เขียนเชิงสร้างสรรค์
การสื่อความหมาย โดยการเรียบเรียงความรู้ ความคิดและความรู้สึก ของผู้เขียนออกมา
ประโยชน์ของการสอน
เขียนเชิงสร้างสรรค์
ฝึกทักษะและการพัฒนาการใช้ภาษาในการถ่ายทอด
ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
ช่วยให้รู้จักวงศัพท์มากขึ้น
รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ช่วยให้มีความรู้
เป็นงานที่สร้างความสุขสนุกสนาน
ลำดับขั้นในการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์
ขั้นจูงใจ
ขั้นแลกเปลี่ยนความคิดในเรื่องที่สนใจ
ขั้นเขียน
ขั้นแลกเปลี่ยนความคิดจากเรื่องที่เขียน
ขั้นติดตามผลกิจกรรมบางอย่างที่เหมาะสม
การประเมินผลการเขียนเชิงสร้างสรรค์
เนื้อเรื่องควรพิจารณาแนวคิดหรือ
แนวเรื่องการจัดระเบียบความคิด
การใช้ภาษาควรพิจารณาระดับของ
ภาษาที่ใช้ว่าถูกต้องตามกาลเทศะ
รูปแบบควรพิจารณาเฉพาะ
การเขียนที่มีแผนแน่นอนว่า
กลไกประกอบการเขียนอื่น ๆ
ทักษะด้านการรับสาร
การฟัง
กระบวนการฟัง
การเข้าใจสิ่งที่ได้ยิน
การตีความสิ่งที่ได้ยิน
การมีสมาธิต่อสิ่งที่เราได้ยินนั้น
การตอบสนอง
การได้ยินเสียงที่มากระทบโสตประสาท
จุดมุ่งหมายของการฟัง
การฟังเพื่อสังคม
การฟังเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์
ประโยชน์ของการฟัง
ประโยชน์ต่อตนเอง
การฟังที่ดีทำให้เรารับรู้เรื่องราวที่ฟังได้โดยตลอด
การฟังที่ดีช่วยพัฒนาสมรรถภาพของการใช้ทักษะภาษาอื่น ๆ
การฟังที่ดีเป็นพฤติกรรมของผู้มีมารยาทในการเข้าสังคม
ประโยชน์ต่อสังคม
ผู้ฟังได้รับผลดีจากการปฏิบัติ
และสังคมได้ประโยชน์ทางอ้อม
มารยาทในการฟัง
มารยาทในการฟังระหว่างบุคคล
ตั้งใจฟังและแสดงอาการกระตือรือร้นที่จะฟัง
สายตาจับอยู่ที่ผู้พูดอย่างสนใจ
และด้วยความรู้สึกจริงใจ
แสดงปฏิกิริยาตอบสนองเรื่องที่ฟัง
ไม่พูดแทรกกลางคัน
ไม่แสดงอาการเบื่อหน่าย
แสดงกิริยาอาการให้ทราบว่าสนใจ ติดตามฟัง
มีกิริยาท่าทางสำรวม เป็นการให้เกียรติแก่ผู้พูด
มารยาทในการฟังกลุ่ม
ผู้ฟังที่ไปก่อนควรนั่งเก้าอี้ในแถวหน้า ๆ
ควรอยู่ในความสงบสำรวมในขณะที่นั่งรอฟังการพูด
แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย ถูกกาลเทศะ
ให้เกียรติผู้พูดด้วยการปรบมือ เมื่อมีการแนะนำตัว
แสดงความสนใจในการพูด
วิธีฝึกฝนและ
พัฒนาทักษะการฟัง
ทำตัวให้มีความพร้อมที่จะรับฟัง
ขณะฟัง ต้องหมั่นฝึกปฏิบัติให้ได้ตามขั้นตอนการฟัง
ฟังอย่างสุภาพและตั้งใจจริง
พยายามหาประโยชน์จากการฟัง
ต้องรู้จักสังเกตอวัจนภาษาของผู้พูด
พยายามจดบันทึกทุกครั้งในขณะที่ฟัง
ปัญหาการจับใจความสำคัญ
ไม่เป็นคนใจแคบ
ฟังให้ครบ
รักษามารยาทในการฟัง
ความหมายและความสำคัญ
ของการฟัง
การฟังนั้นเกิดขึ้นได้ทั้งในสภาพที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ
การฟังเป็นทักษะทางภาษาที่มีความสำคัญ
และเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์
การฟังเป็นกระบวนการสื่อสารที่
มนุษย์ใช้งานมากที่สุดในชีวิตประจำวัน
การฟังมากทำให้คนมีความรู้มากเกิด
ความรอบรู้ ช่วยให้เกิดความเพลิดเพลิน
ทักษะการฟังเชิงรุก
ความหมาย
การฟังด้วยใจ ไม่ใช้แค่หูฟังอย่างเดียว
การฟังที่ผู้ฟังต้องอยู่กับปัจจุบัน
การฟังที่ต้องใช้ความอดทน
การฟังที่ควรมีการทบทวนความเข้าใจให้ตรงกัน
ฝึกทักษะการฟังเชิงรุก
1.ทำความรู้จัก
การฟังทั้ง 5 ระดับ
ไม่สนใจ
แกล้งฟัง
เลือกฟัง
ตั้งใจฟัง
ฟังด้วยใจ
2.เข้าใจเป้าหมายการฟังเชิงรุก
ฟังเพื่อทำความเข้าใจ
ฟังเพื่อนำมาใช้
ฟังเพื่อวิเคราะห์และประเมิน
ฟังเพื่อรับความรู้สึก
ฝึกฟังให้บ่อย เพื่อให้เกิดความเคยชิน
และเสริมทักษะให้เชี่ยวชาญขึ้น
ใช้ 10 เทคนิค
ในการฟังเชิงรุก
ตีความให้กระจ่าง
อดทน และอดทนที่จะไม่พูดขัด
ทวนคำถูกที่ถูกเวลา
กระตุ้นให้พูด
ทวนซ้ำคำได้
ดึงเข้าประเด็น
ตั้งสติให้ความสนใจเต็มร้อย
เข้าอกเข้าใจ ฟังด้วยใจเพื่อรับความรู้สึกตามการฟังระดับ 5
จงหยุดพูด เปิดพื้นที่ให้ผู้พูด
สนับสนุนให้ลงมือทำ
การอ่าน
ความหมายและความสำคัญ
ของการอ่าน
การอ่านช่วยให้ได้รับความรู้ช่วยพัฒนาความคิด และยกระดับสติปัญญา
การอ่านช่วยพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ
การอ่านยังช่วยแก้ปัญหาในใจและปรับปรุงบุคลิกภาพให้ดี
การอ่านเป็นทักษะที่มนุษย์ใช้สำหรับสืบค้น
และเรียนรู้เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้
กระบวนการการอ่าน
การมองเห็นตัวอักษร สัญลักษณ์
หรือข้อความชัดเจนแล้วเข้าใจ
การเข้าใจความหมายของสาร
การมีปฏิกิริยาต่อสาร
การบูรณาการความคิด
จุดมุ่งหมายของการอ่าน
อ่านเพื่อความรู้
อ่านเพื่อหาคำตอบ
อ่านเพื่อปฏิบัติตาม
อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน
ประโยชน์ของการอ่าน
ประโยชน์ต่อตนเอง
ก่อให้เกิดความรอบรู้
ทำให้เป็นผู้ทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศ
เป็นการยกระดับสติปัญญา และพัฒนาความคิด
การอ่านยังช่วยให้รับความเพลิดเพลิน
ประโยชน์ต่อสังคม
ด้านวิทยาศาสตร์
และวัฒนธรรม
การอ่านเป็นกุญแจในการสืบค้น
ด้านสังคม
การอ่านเป็นการสร้างสรรค์ปัจเจกบุคคลให้เกิดความรู้
ด้านเศรษฐกิจ
การอ่านส่งผลต่ออาชีพ
และเศรษฐกิจของตนให้ดีขึ้น
ด้านประชาธิปไตย
การอ่านเป็นปัจจัยพื้นฐานในการนำเสนอความคิด
แลกเปลี่ยนความคิด ความรู้ ทั้งโดยตรงและผ่านสื่อมวลชน
ด้านคุณธรรม
และสันติธรรม
การเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้กว้างขวางมองเห็น
ความเป็นอยู่ ทุกข์ สุข ของเพื่อนมนุษย์
ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
จุดมุ่งหมาย
ของการอ่าน
เพื่อแสวงหาความบันเทิง
เพื่อแสวงหาข่าวสารความคิด
เพื่อแสวงหาความรู้
เพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง
เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
เพื่อพัฒนาและปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพ
ประเภทของการอ่าน
การอ่านอย่างคร่าวๆ
การอ่านแบบตรวจตรา
การอ่านแบบศึกษาค้นคว้า
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การอ่านโดยใช้วิจารณญาณ
ความหมายของ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การอ่านอย่างละเอียด เพื่อทำความเข้าใจ
ในเรื่องที่อ่าน สามารถแยกแยะ
สิ่งที่อ่านได้ว่า ใครทำอะไร
ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
ประโยชน์ของการอ่านเชิงวิเคราะห์
ช่วยให้ผู้อ่านเกิดทักษะในการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
ช่วยให้ผู้อ่านเพิ่มประสิทธิภาพการอ่านให้แก่ตนเอง
ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมดของงานเขียน
ช่วยให้ผู้อ่านนำเอาวิธีการและผลจากการอ่านมา
ปรับใช้ในการดำเนินชีวิต
หลักการอ่านเชิงวิเคราะห์
แยกแยะส่วนที่เป็น
สาระสำคัญและส่วนขยายความ
สาระสำคัญ
ขยายความ
แยกแยะส่วนที่เป็นข้อเท็จจริง
ออกจากข้อคิดเห็นในงานเขียนต่างๆ
ข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็นในงานเขียน
ขั้นตอนของ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ขั้นที่ 1 รวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 2 วิเคราะห์
ขั้นที่ 3 สรุป
ขั้นที่ 4 ประยุกต์และนำไปใช้