Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์🙎🏻♀️🙎🏻♂️ - Coggle Diagram
การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์🙎🏻♀️🙎🏻♂️
การตกขาวผิดปกติ
การตกขาวจากการติดเชื้อพยาธิ
🎃
การติดต่อ
ทางเพศสัมพันธ์
อวัยวะเพศสัมผัสเชื้อ
โดยตรง
ระยะฟักตัว 5-28 วัน
ติดเชื้อพยาธิ/เชื้อโปรโตซัวชื่อ trichomonas vaginalis
อาการ
ตกขาวเป็นฟอง (foamy discharge) มีกลิ่นเหม็น
ระคายเคืองที่ปากช่องคลอด ในช่องคลอด
ปัสสาวะแสบขัด
พบโรคคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่นร่วมด้วย
gonorrhea
mucopurulent cervicitis
condyloma acuminata
vulvovaginal candidiasis
เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อน
กำหนด
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อย
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจภายในช่องคลอด
การตรวจwet mount smear
จะพบเม็ดเลือดขาวจำนวนมากและตัวพยาธิ
ตกขาวมีฤทธิ์เป็นด่าง ค่า pH มากกว่า 4.5
การซักประวัติการตกขาว
แนวทางการรักษา
หลังไตรมาสแรกรักษาด้วย metronidazole รับประทาน 2 กรัม
รักษาสามีด้วย metronidazole/tinidazole รับประทาน 2 g.ครั้งเดียว
ใช้ยาmetronidazole แต่ห้ามใช้ในไตรมาสแรก
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้คลอดทางช่อคลอดได้ตามปกติ
ระยะหลังคลอด
แนะนำให้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้
อาการยังไม่ดีขึ้นให้พบแพทย
ต้องได้รับการรักษาทั้งสามีและภรรยา
ระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำและการดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ทั่วไป
แนะนำการเหน็บยา หรือการรับประทานยา
แนะนำให้สามีมารับการรักษาพร้อมกัน
แนะนำการการสวมถุงยางอนามัย
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
*การตกขาวจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
🎠*
อาการ
คัน ปวดแสบปวดร้อนปากช่องคลอด ในช่องคลอด
ถ่ายปัสสาวะลำบาก แสบขัด
เจ็บขณะร่วมเพศ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นเน่าเหมือนคาวปลา (fishy smell)
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
เกิดการแท้งติดเชื้อ (septic abortion) ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
มีไข้ เยื่อบุมดลูกอักเสบ (endometritis)
ไม่ได้รักษา
ติดเชื้อในมดลูก (chorioamnionitis)
ปีกมดลูกอักเสบ (salpingitis)
การอักเสบในอุ้งเชิงกรานPID
ทารกในครรภ์
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย และทารกคลอดก่อนกำหนด
พบเชื้อแบคทีเรียในหลอดลม
ภาวะหายใจลำบาก
มีแบคทีเรียในเลือด
สาเหตุ :แบคทีเรียที่ไม่ต้องใช้ออกซิเจน (anaerobes)
การประเมินและวินิจฉัย
ตรวจทางช่องคลอดและการทำ pap smear
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ (culture) ตกขาวใน columbia agar
ตรวจ Wet smear
การซักประวัติ
แนวทางการรักษา
ampicillin 500 มิลลิกรัม วันละ 4 ครั้ง 7 วัน
ให้ยา metronidazole 250 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง
การพยาบาล
ระยะคลอด
คลอดทางช่องคอลดได้ปกติ
ระยะหลังคลอด :
ดูแลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาโดยเน้นเรื่องการล้างมือ
ระยะตั้งครรภ์
การดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ทั่วไป
รับประทานยาตามแพทย์สั่งให้ครบเน้นการมาตรวจตามนัด
ทำความสะอาดไม่ให้อับชื้นโดยใช้น้ำธรรมดา
แนะนำให้พาสามีไปตรวจและรักษาโรคพร้อมกัน
แนะนำการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
หากมีอาการผิดปกติให้รีบพบแพทย์
ปวดท้อง
ท้องแข็งบ่อย
มีเลือดออกทางช่องคลอด
การตกขาวจากการติดเชื้อรา
🚨
อาการ
คันและระคายเคืองมาก/ผื่นแดง/บวมแดงแต่ปากมดลูกปกติ
ตกขาวมีลักษณะสีขาวขุ่น อยู่รวมกันตะกอนนม
ร้อยละ 20 จะไม่มีอาการ
เจ็บขณะร่วมเพศ (dyspareunia)
ปัสสาวะลําบาก และแสบขัดตอนสุด
ผลกระทบ
ต่อทารก
เป็นเชื้อราในช่องปาก (oral thrush)
สตรีตั้งครรภ์
ระคายเคือง คันช่องคลอดมาก
ปัจจัยและปัจจัยเสี่ยง
ได้รับฮอร์โมนสเตียรอยด์และยากดภูมิต้านทาน
การรับประทานยาคุมกําเนิดhigh dose
การรับประทานยาปฏิชีวนะ
ความเครียด การพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ
การใช้น้ํายาล้างทําความสะอาดช่องคลอด
การตั้งครรภ์
สวมใส่ชุดชั้นในที่แน่นทําให้เกิดความอับชื้น
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจภายใน
ตกขาวมีลักษณะขุ่น
ช่องคลอดบวมแดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
gram stain
wet mount smear
pH น้อยกว่า 4.5
พบyeast cellและเส้นใยของเซลล์เชื้อรา
การซักประวัติ
เชื้อรากลุ่ม candida albicans
แนวทางการรักษา
Clotrimazole 100 มิลลิกรัม 1 เม็ด เหน็บช่องคลอดก่อนนอน 6 วัน
1% Clotrimazole cream 5 กรัม ทางช่องคลอด 6 วัน
Miconazole 100 มิลลิกรัม 1 เม็ด เหน็บช่องคลอดก่อนนอน 7 วัน
2% Miconazole cream 5 กรัม ทาช่องคลอด 7 วัน
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้คลอดทางช่องคลอดได้ตามปกต
ระยะหลังคลอด
ดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาดและแห้งเสมอ
ทารกแรกเกิดอาจมีการติดเชื้อในช่องปากให้ปรึกษากุมารแพทย
ดูแลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
ระยะตั้งครรภ์
หากสามีมีอาการแสดงควรพามารักษาพร้อมกัน
ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
แนะนำการใช้ยาทาและยาเหน็บช่องคลอดตามแพทย์สั่ง
อธิบายถึงสาเหตุการดูแลตนเองให้สุขสบายขึ้น
*ซิฟิลิส (Syphilis)
👧🏻*
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
แท้งบุตร
ผิวหนังและเนื้อเยื่ออักเสบ
ทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ตายคลอด
neonatal syphilis
ทารกพิการแต่กำเนิด
ป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
น้ำหนักลด
บางรายอาจไม่พบอาการแสดงใด ๆ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
พบอาการแสดงของโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาเชื้อ T. Pallidum จากแผล chancre
การตรวจเลือด
การคัดกรองที่นิยมใช้การตรวจด้วยวิธี VDRL
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
secondary stage
พบผื่นกระจายทั่วร่างกาย ฝ่ามือฝ่าเท้า เเละอวัยวะสืบพันธุ
ไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต เจ็บคอ
ผมร่วงเป็นหย่อมๆ ปวดศีรษะ น้ำหนักลด
latent syphilis(ระยะแฝง)
ระยะนี้จะไม่มีอาการใดๆ
ระยะที่สามารถแพร่กระจายเชื้อได้
primary stage
เกิดแผล กลม นิ่ม ขอบนูนแข็ง ไม่เจ็บ
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบโตแต่กดไม่เจ็บ
หลังจากได้รับเชื้อ 10-90 วัน
tertiary syphilis
เชื้อเข้าสู่ระบบประสาท
กระดูกผุ
เยื่อบุสมองอักเสบ และเสียชีวิตในที่สุด
ผิวหนังอักเสบ
เชื้อเข้าไปทำลายระบบ
หัวใจและหลอดเลือด
aortic aneurysm
aortic insufficiency
แนวทางการรักษา
ให้ยา Penicillin G
รักษาด้วย Benzathine Penicillin G Sodium 2.4 ล้านยูนิต ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพกครั้งเดียว
การรักษาให้หายและต้องให้สามีมารับการตรวจและรักษาพร้อมกัน
ระยะ late latent syphilis จะรักษาด้วย Benzathine Penicillin G Sodium ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะพก 3 w.
หนองใน (Gonorrhea)🧑🏻
อาการและอาการแสดง
้ตกขาวเป็นหนองข้นปริมาณมาก
กดเจ็บบริเวณbartholin’s gland
อักเสบของปากมดลูกและช่องคลอด
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะกระปิดกระปรอยและปัสสาวะเป็นเลือด
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
หากมีการอักเสบมากขาหนีบจะบวม
กดเจ็บบริเวณต่อมบาร์โธลิน
หนองสีขาวขุ่น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจgram stain smear หากมีการติดเชื้อจะพบ intracellular gram negative diplocooci
การตรวจ Nucleic acid test (NAT)
เกิดจากการติดเชื้อ Neiseria gonorrheae หรือ gonococcus (GC)
แนวทางการรักษา
ทารกแรกเกิดทุกรายควรได้รับยาป้ายตา
ทารกที่ติดเชื้อจะได้รับยาปฏิชีวนะ ceftriaxone ตามแผนการรักษาของกุมารแพทย์
ให้ยา ceftriaxone, azithromycin, penicillin ได้ทั้งรับประทานและฉีด
คำนึงว่ามีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่นร่วมด้วยหรือไม่
ตรวจคัดกรองขณะตั้งครรภ์ตามปกติ (VDRL)
*การติดเชื้อเริม (Herpes simplex)
🚑*
อาการและอาการแสดง
ปวดแสบปวดร้อน และคันบริเวณที่สัมผัสโรค
ตุ่มน้ำใสๆ
เกิด 3-7 วันหลังการสัมผัสเชื้อ
อาจมีอาการอาจมีคล้ายหวัด
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
เพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ทารก
ทารกเจริญเติบโตช้า
ทารกคลอดก่อนกำหนด
เกิดความพิการแต่กำเนิด
อาจติดเชื้อขณะคลอดได้
เกิดจากเชื้อHerpes simplex virus (HSV)
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
พบตุ่มน้ำใส
หากตุ่มน้ำแตกจะพบแผลอักเสบ แดง ปวดแสบปวดร้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อใน Hank’s medium
exfoliative cytology
Tzanck’s test
การซักประวัติ
แนวทางการรักษา
ให้ Acyclovir 200 mg รับประทานวันละ 5 ครั้ง5-7 วัน
การรักษาในระยะคลอด
เฝ้าระวังทารก เพื่อดูอาการของการติดเชื้อเริม
กรณีที่พบรอยโรคให้คลอดโดยการผ่าตัดคลอดและเฝ้าระวังทารก
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
*หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminate)
🐔
มีระยะฟักตัวนาน 2-3 เดือนติดต่อจากการสัมผัสรอยโรคโดยเฉพาะทางเพศสัมพันธ์
อาการและอาการแสดง
มีรอยโรคเป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่ บริเวณอับชื้น
มีผิวขรุยระคล้ายดอกกะหล่ำและยุ่ยมาก
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
เกิดการตกเลือดหลังคลอ
เกิดรอยโรคใหญ่อาจขัดขวางช่องทางคลอด
มีโอกาสเกิดมะเร็งปากมดลูก
ทารก
ติดเชื้อหูดหงอนไก่ระหว่างตั้งครรภ์และขณะคลอด
เกิดlaryngeal papillomatosis
เสียงร้องไห้แหบผิดปกติ (abnormal cry)
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
พบรอยโรคเป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่
ผิวขรุขระคล้ายดอกกะหล่ำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาเชื้อ HPV โดยวิธี Polymerase ChainReaction (PCR)
การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
ตรวจ Pap smear
แนวทางการรักษา
ทาบริเวณรอยโรคด้วย 85% trichlorracetic acid หรือ bichloroacetic acid
ใช้ยาท่าร่วมกับการจี้ laser หรือ cryosurgery
รักษาความสะอาด หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ผ่าตัดคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อในทารกแรกเกิด
*การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
💘*
ระยะหลังคลอด
การดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย เครื่องใช้ส่วนตัว
ประเมินอาการติดเชื้อของทารกแรกเกิด
มีไข้ อ่อนเพลีย
ดูดนมไม่ดี
ตัวเหลือง ชัก
มีแผลherpes ตามร่างกาย
ให้การพยาบาลมารดาหลังคลอดโดยยึดหลัก universal precaution
แนะนำการเลี้ยงบุตร
ดูแลให้มารดาหลังคลอดและทารกได้รับยาป้องกันการติดเชื้อตามแผนการรักษา
ระยะคลอด
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการทางช่องคลอด
ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการผ่าตัด
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้นำสามีมารับการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค
อธิบายให้เข้าใจถึงการดำเนินของโรค อันตราย แผนการรักษาพยาบาล
คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
แนะนำการปฏิบัติตัวของสตรีตั้งครรภ์และสามี
รับประทานยา ฉีดยา หรือทายาตามแผนการรักษา
ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งจนกว่าจะรักษาจนหายขาด
หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผลและหนอง
กรณีมีแผลที่อวัยวะสืบพันธุ์แนะนำให้ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์
แนะนำการมาตรวจตามนัด
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และผลการรักษา
การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภHIV
💖💦
การแพร่เชื้อจากมารดาสู่ทารก
การติดเชื้อ HIV ระหว่างตั้งครรภ์
การติดเชื้อ HIV ระหว่างคลอด
การติดเชื้อ HIV ระยะหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ระยะเริ่มแรกของการติดเชื้อ HIV
ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น
ต่อมน้ำเหลืองโต
1-6 สัปดาห์หลังติดเชื้อ จากนั้นจะเริ่มมีไข้ เจ็บคอ
มีฝ้าขาวในช่องปาก
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ
เป็นระยะที่สามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้
ระยะติดเชื้อที่มีอาการ
ท้องเดินเรื้อรัง หรืออุจจาระร่วงเรื้อรัง
น้ำหนักลดเกิน 10% ของน้ำหนักตัว
อุณหภูมิร่างกายสูงมากกว่า37.80C เป็นพักๆ หรือติดต่อกันทุกวัน
พบเชื้อราในปากหรือฝ้าขาว (hairy leukoplakia)
ระยะป่วยเป็นเอดส์
ไข้
ผอม ซีด
ลิ้นหรือช่องปากเป็นฝ้าขาวจากเชื้อรา
ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่ง
ผลกระทบ
ทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกตายคลอด
เจริญเติบโตช้าในครรภ
น้ำหนักตัวน้อย
สตรีตั้งครรภ์
ปริมาณ CD4 ต่ำ
เกิดโรคแทรกซ้อนจากการติดเชื้อฉวยโอกาส
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
มีฝ้าในปาก
ติดเชื้อราในช่องคลอด
มีไข้ ไอ
ต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเชื้อ HIV (HIV viral testing)
การตรวจหา antibody ต่อเชื้อ HIV
การตรวจนับเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 lymphocyte
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษ
ตรวจเสมหะและเอกซเรย์
เจาะหลังในรายที่สงสัยจะเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การป้องกันและการรักษา
ให้ยาต้านไวรัส 3 ตัว (HAART regimen)
TDF/FTC + EFV หรือ
TDF+3TC+EFV
การให้ยาต้านไวรัสแก่สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV
การให้ยาเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาสระหว่างตั้งครรภ์
ให้ยา TMP-SMX (80/400 mg) ครั้งละ 2 เม็ดทุก 24 ชั่วโมง
พิจารณาระยะเวลาที่จะให้คลอดและวิธีการคลอด
viral loadต่ำสามารถรอให้เจ็บครรภ์คลอดเองได
น้ำคร่ำปริมาณ viral load ต้อง ≤ 50
copies/ml จึงจะไม่เสี่ยงต่อการถ่ายทอดเชื้อ
หลีกเลี่ยงการโกนขนบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
หลังคลอดหลีกเลี่ยงการให้ยากลุ่ม ergotamine
หลีกเลี่ยงการใส่สายยางสวนอาหารในกระเพาะทารกโดยไม่จำเป็น
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อ HIV ทุกรายควรได้รับการดูแลรักษาโดยกุมารแพทย
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
หลีกเลี่ยงเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
แนะนำให้ใส่เสื้อชั้นในที่คับเพื่อยับยั้งการสร้างและหลั่งน้ำนม
ดูแลมารดาหลังคลอดโดยยึดหลัก universal precaution
แนะนำวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่บุคคลอื่น
แนะนำการมาตรวจตามนัด
แนะนำการวางแผนครอบครัว โดยสามารถใช้วิธีคุมกำเนิด
จัดให้บริการปรึกษาแก่มารดาหลังคลอดที่ติดเชื้อ HIV อย่างต่อเนื่อง
ระยะคลอด
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution
หากปริมาณ viral load ≤ 50 copies/mL แพทย์อาจพิจารณาเจาะถุงน้ำคร่ำ
ทำคลอดด้วยวิธีที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดกและทารกน้อยที่สุด
ดูแลให้รับยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์และสามีที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ให้ข้อมูลแก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง
ให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการได้รัยยาต้านไวรัส
แนะนำการปฏิบัติตัวของสตรีตั้งครรภ
ประเมินระดับความวิตกกังวล