Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่นๆขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่นๆขณะตั้งครรภ์
hepatitis A virus: HAV
💉❌
ติดต่อโดยการรับประทานอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อนเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
ปวดศีรษะ
มักไม่มีอาการของดีซ่าน
เกิดจากการติดเชื้อ hepatitis A virus
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
ไม่มีผลทำให้อาการของโรครุนแรงมากขึ้น
ทารก
ทารกได้รับเชื้อในระยะคลอด หรือระยะหลังคลอดได
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน
มีไข้ อ่อนเพลีย
อาการตัวเหลืองตาเหลือง
ท้องอืด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจการทำงานของตับ
ตรวจIgM-anti HAV
ตรวจantibody-HAV
การป้องกันและการรักษา
รักษาแบบประคับประคองตามอาการที่ปรากฏ
ให้ immune serum globulin (ISG) ในสตรีตั้งครรภ์ที่สัมผัสเชื้อในระยะใกล้คลอด
ทารกใกล้คลอดควรได้รับ ISG ขนาด 0.5 mg
การพยาบาล
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ ได้แก่ acetaminophen
มาตรวจตามนัด
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย และดื่มน้ำให้เพียงพอ
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา
Hepatitis B virus
💦💖
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ เบื่ออาหาร
อาเจียน ปวดท้อง
ปวดบริเวณชายโครงขวา คลำพบตับโต กดเจ็บ
ปัสสาวะมีสีเข้ม
เชื้อจะฟักตัว 50-150 วัน
ตาเหลืองตัวเหลือ
ผลกระทบ
ทารก
ทารกตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
สามารถพัฒนาเป็นโรคตับแข็งและมะเร็งตับในอนาคต
สตรีตั้งครรภ์
ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
พยาธิสรีรภาพ
ระยะที่สอง
อ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด
คลื่นไส้อาเจียน
จุกแน่นใต้ชายโครงจากตับโต
ปัสสาวะเข้ม ตัวเหลืองตาเหลือง
ระยะที่สาม
เข้าสู่ระยะโรคสงบ (inactive carrier)
ระยะแรก
ตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลบวก
พบ Hepatitis B virus DNAจำนวนมาก
เชื้อจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็วแต่จะไม่มีอาการแสดง
ระยะที่สี่
เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ (re-activation phase)
ภาวะตับอักเสบเรื้อรังจนเนื้อตับเสียหาย
มีพังผืดแทรกจนเป็นตับแข็งและกลายเป็นมะเร็งตับ
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
พบอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
แนวทางการป้องกันและรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย โดยตรวจหา HBsAg ทุกราย
การรักษา
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย หลีกเลี่ยงอาหารที่ไขมันสูง
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ให้ยาแก้อาเจียน
แนะนำให้พาสมาชิกในครอบครัวมาตรวจเลือด
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการที่จะทำให้เกิดความเสี่ยงสูง
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำ และการตรวจทางช่องคลอด
ดูดสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ออกจากปากและจมูกของทารกให้มากที่สุด
ทำความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
ฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) ให้ทารกเร็วที่สุดหลังเกิด
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างเคร่งครัด
ระยะหลังคลอด
แนะนำการรักษาความสะอาดของร่างกาย
แนะนำให้นำทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบ
ไม่จำเป็นต้องงดให้นมมารดาแก่ทารก
ระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ การติดต่อ การป้องกัน
อธิบายความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
ตรวจคัดกรองว่าเป็นพาหะของโรคหรือไม
แนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การป้องกันการติดเชื้อซ้ำซ้อน
หัดเยอรมัน (Rubella/German measles)
👱🏻♀️👱🏻♂️
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
ไม่สุขสบายเล็กน้อย
ทารก
เกิดขึ้นชั่วคราว
ตับม้ามโต ตัวเหลือง
โลหิตจาง เกล็ดเลือดต่ำ
ปอดบวม
กระดูกบาง
เกิดถาวร
หูหนวก
หัวใจพิการ
ตาบอด(ต้อกระจก, ต้อหิน)
มองพิการ และปัญญาอ่อน
ไม่พบขณะแรกเกิดแต่พบภายหลัง
ภาวะเบาหวาน
สูญเสียการได้ยิน
โรคต่อมไทรอยด์
ลิ้นหัวใจผิดปกติ
ความดันโลหิตสูง
สมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ตาแดง ไอ เจ็บคอ
ต่อน้ำเหลืองบริเวณหลังหูโต ปวดข้อ
เบื่ออาหาร
ผื่นขึ้นเป็นตุ่มเล็ก ๆ สีแดง (maculopapular)
มีไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย พบอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ Hemagglutination inhibition test (HAI)
ตรวจ IgM antibody และ IgG antibody
การซักประวัติ
การป้องกันและการรักษา
ทารกต้องเก็บเลือดจากสายสะดือส่งตรวจ
ให้ภูมิคุ้มกัน และควรเน้นการฉีดวัคซีนใน
เด็กหญิง
การพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมัน
สตรีที่มาฝากครรภ์ควรตรวจดูว่ามีภูมิคุ้มกันหรือไม่
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวไดซักถามข้อสงสัย
สุกใส (VZV)
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
มีผื่นขึ้น เป็นตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง
ปวดเมื่อยตามตัวร่วมด้วย
ตุ่มน้ำจะพัฒนาไปเป็นตุ่มหนอง และแห้งลงจนตกสะเก็ด
ตุ่มน้ำจะรู้สึกคันมาก
ผลกระทบ
ทารก
การติดเชื้อปริกำเนิด
เสีียงต่อการเสียชีวิต
การติดเชื้อในครรภ์
พิการแต่กำเนิด
สตรีตั้งครรภ์
อาการทางสมอง ทำให้ซึมลง และมีอาการชัก
เสียชีวิตได้ทั้งแม่ และทารกในครรภ์
ภาวะปอดอักเสบ หรือปอดบวม
การติดเชื้อไวรัสชื่อ Varicella-zoster virus (HZV)
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
มีผื่นตุ่มน้ำใสตามไรผม ตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง
ปวดเมื่อยตามตัวร่วมด้วย
อาการคล้ายอาการของไข้หวัดใหญ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อไวรัสสุกใส
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ัรักษาแบบประคับประคอง
ใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใส Acyclovir ในเวลา 24-48 ชั่วโมงหลังมีผื่นขึ้น
ป้องกันโดยไม่สัมผัสโรค หลีกเลี่ยงคนที่ป่วยเป็นสุกใส
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึก
ระยะคลอด
ดูแลโดยเน้นหลัก Universal precaution
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภ
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
แนะนำการรับประทานอาหารโปรตีนและวิตามินซีสูง
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG
เน้นการมาตรวจตามนัด และมาพบแพทย์ทันทีเมื่อมีอาการผิดปกต
*โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส(CMV)
🚨🙋🏻♂️*
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
คลอดก่อนกำหนด
เสี่ยงต่อการแท้ง
ทารก
เสี่ยงต่อภาวะ IUGR
แท้ง fetal distress
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
การประเมินและการการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย พบอาการแสดงของโรค
การซักประวัติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Amniocentesis for CMV DNA PCR
การเจาะเลือดส่งตรวจพบ Atypical Lymphocytes สูง
พบว่า IgG เพิ่มขึ้น 4
ตรวจ Plasma specimen for culture
การตรวจพิเศษ การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
อาการและอาการแสดง
ตับ
อักเสบ และอาการทางสมอง
การติดเชื้อในระหว่างการตั้งครรภ์
ปวดกล้ามเนื้อหรือปอดบวม
ไข้สูงนาน
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ให้ยาที่มีแอนติบอดีต่อCMV
วัคซีนที่ให้เพื่อป้องกันการติดเชื้อ CMV
ให้ยาต้านไวรัส เช่น Valtrex, Ganciclovil, Valavir
ทารกที่ติดเชื้อควรให้การดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด
การพยาบาล
ระยะคลอด
ดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ดูแลโดยโดยเน้นหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
เน้นย้ำเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด
สังเกตอาการผิดปกติของทารกที่ต้องรีบพามาพบแพทย
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติ เพื่อคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย
อธิบายเกี่ยวกับโรค
เน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อโปรโตซัว
🐾
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำเนิด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
แท้ง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารก
ไข้ ชัก
ทารกหัวบาตร
ตับและม้ามโต ตาและตัวเหลือง
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย มักไม่แสดงอาการ
อาจพบภาวะปอดบวม
หัวใจอักเสบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดหา DNA ของเชื้อ
การวินิจฉัยก่อนคลอด
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
อาการและอาการแสดง
มักไม่ค่อยแสดงอาการ
ถ้ามีจะอ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ
รายที่รุนแรงจะมีพยาธิที่สมอง
แนวทางการป้องกันและการรักษา
หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ที่ไม่ผ่านการล้าง
ถ้าพบ IgM ในมารดา อนุมานว่ามีการติดเชื้อ และรักษาด้วย spiramycin
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทนในช่วงที่ตั้งครรภ์
การเจาะเลือดสายสะดือทารกเพื่อหาการติดเชื้อ
การพยาบาล
ระยะคลอด
เช็ดตาทารกด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
ติดตามผลการตรวจเลือด
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
แนะนำเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
*การติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika)
😎*
ผลกระทบ
ตรีตั้งครรภ์
ไข้ หนาวสั่นรู้สึกไม่สุขสบาย
ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ตัวตาเหลือง ชา อัมพาตครึ่งซีก
ทารก
ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาท
ความผิดปกติตาและการมองเห็น
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกตายในครรภ์
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
พบอาการแสดงของโรค
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธีRT-PCR
การตรวจหาภูมิคุ้มกัน (IgM) ด้วยวิธี ELISA
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
อาการและอาการแสดง
ไข้ ผื่นแดง
เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ
มียุงลายเป็นพาหะนำโรค
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
เฝ้าระวังครอบคลุม 4 ด้าน
เฝ้าระวังความพิการแต่กำเนิด และระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกต
การรักษา
รักษาตามอาการ
การพยาบาล
ให้คำแนะนำในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค
อธิบายเกี่ยวกับการดำเนินของโรคเพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
เน้นย้ำการมาตรวจครรภ์ตามนัด
การดูแลในระยะคลอดให้การดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
COVID-19 during Pregnancy
🚑
การติดต่อส่วนใหญ่ผ่านทางสัมผัสละอองฝอยจากการไอ หรือจาม
อาการและอาการแสดง
หายใจติดขัด หรือหายใจลำบาก
อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
มีการติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การคลอดก่อนกำหนด
รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารก
์พัฒนาการล่าช้า
คลอดน้ำหนักตัวน้อย
คลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ
ไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
อาจมีคัดจมูก มีน้ามูก
เจ็บคอ ไอเป็นเลือด
ไอแห้ง หายใจติดขัด
ท้องเสีย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ
ตรวจหา viralnucleic acid
ส่งสิ่งคัดหลั่งตรวจหาเชื้อไวรัสอื่น
การตรวจพิเศษ
การตรวจเอกซเรย์ปอดหรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช้องอก
ปอดอักเสบ
แนวทางการรักษา
การดูแลรักษา
สตรีตั้งครรภ์ที่สงสัยจะติดเชื้อโรคโควิด-19
มีไข้ ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
้เลื่อนการนัดผ่าตัดคลอดออกไปอย่างน้อย 14 วัน
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อแต่อาการไม่รุนแรง
ให้ยาต้านไวรัส
สถานที่และบุคลากร
เน้นให้บุคลากรใส่ชุด PPE
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการรุนแรง
ควรนึกถึงภาวะ pulmonary embolism
ไม่ให้ออกซิเจนทาง face mask
On EFM ถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
ให้ยาLopinavir/Ritonavir, remdesivir
ยุติการตั้งครรภ์ตามขอ้บ่งชี้ด้านสูติศาสตร์
การดูแลรักษากรณีฉุกเฉิน
บุคลากรใส่ชุด full PPE
การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด
วิธีคลอดพิจารณาตามความเหมาะสม
วิธีคลอดพิจารณาตามความเหมาะสม
ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง ตามความจำเป็น
ทำ epidural block ได้และมีข้อด
On EFM ถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
การใช้ก๊าซสูดดมเพื่อระงับความปวด ควรใช้ด้วยความระวัง
ทำการผ่าตัดในห้องแยกความดันลบ
การระงับความรู้สึกหลีกเลี่ยง general anesthesia
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้ กลุ่มเสี่ยง
ักษาระยะห่าง social distancing
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
ัรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่เสมอ
หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะ ของใช้ร่วมกับผู้อื่น
ล้างมือบ่อย ๆ
ไอ จาม ให้ใช้ต้นแขนด้านบนปิดปากทุกครั้ง
ถ้ามีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หายใจเหนื่อย ควรรีบไปพบแพทย์
เน้นย้ำให้สตรีตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามนัดได้ตามปกต
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ กลุ่มเสี่ยง
แยกตนเองออกจากครอบครัว และสังเกตอาการจนครบ 14 วัน
งดการออกไปในที่ชุมชนสาธารณะโดยไม่จำเป็น
ต้องแจ้งพยาบาลผดุงครรภ์ให้ทราบว่าตนเองอยู่ระหว่างการเฝ้าระวัง
เจ็บครรภ์คลอด ต้องไปโรงพยาบาลทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบว่าตนเองอยู่ระหว่างการเฝ้าระวัง 14 วัน
การดูแลทารกแรกเกิด ในกรณีมารดาเป็นผู้ที่สงสัยติดเชื้อและติดเชื้อ COVID-19
แยกตัวออกจากผู้อื่น
และต้องสังเกตอาการเป็นเวลา 14 วัน
ควรอธิบายถึงความเสี่ยงความจำเป็น และประโยชน์ ให้่เข้าใจและปฏิบัติตาม
ข้อแนะนำการปฏิบัติสำหรับมารดาหลังคลอด
อาบน้ำหรือเช็ดทำความสะอาดบริเวณเต้านมและหัวนมด้วยน้ำและสบู
ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและสบู่
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดการทำกิจกรรม
ล้างทำความสะอาดอุปกรณและทำกาฆ่าเชื้อ
การให้นม ควรให้ผู้ช่วยเหลือ
ต้อง
ปฏิบัติตามวิธีการป้องกันตนเองอย่างเคร่งครัด