Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ความเป็นครู จิตวิญญาณความเป็นครู - Coggle Diagram
บทที่ 7 ความเป็นครู จิตวิญญาณความเป็นครู
ความหมายของจิตวิญญาณ
จิตวิญญาณสัมพันธ์กับโลกกับจักรวาล
จิตวิญญาณเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับปัญญา
จิตวิญญาณเป็นเรื่องภายนอกที่สัมพันธ์กับสังคมกับวัฒนธรรม
จิตวิญญาณเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา
จิตวิญญาณเป็นเรื่องภายในและเป็นเรื่องส่วนบุคคล
การปลูกฝังจิตวิญญาณครู
จิตวิญญาณครูเป็นได้ทั้งศาสตร์และศิลป์ จิตวิญญาณครูมีลักษณะที่บ่งบอกให้เห็นถึงพฤติกรรมการก้าวข้ามขีดจำกัดของบริบททางสังคมและสิ่งแวดล้อมของบุคคล
การพัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครู
ช่วงการพัฒนาสู่การเป็นผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู = ระยะที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางจิตและพฤติกรรมจากการทำงานอาชีพครูไปสู่ทางจิตและพฤติกรรมจิตวิญญาณความเป็นครู
ช่วงการเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู = ระยะที่เกิดสภาวะทางจิตและพฤติกรรมของการเป็นครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
ช่วงการคงอยู่ของการเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู = ระยะที่เกิดสภาวะทางจิตและพฤติกรรมของการเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครูคงอยู่ในตัวบุคคล ความสุข ความภาคภูมิใจ ความผูกพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ ศรัทธาต่อบุคคลผู้ทรงคุณค่าของแผ่นดิน
วิธีปฏิบัติสู่ความพร้อมแห่งจิตวิญญาณครู
ครึ่งหนึ่งของชีวิตอุทิศเพื่อสังคม
ยึดหลักศาสนธรรม
เคารพต่อตนเองและผู้อื่น
ใช้ชีวิตอยู่ทั่วจักรวาลโดยการนำเอาอดีตมาเรียงร้อยประสานเข้ากับปัจจุบันแล้วมองภาพอนาคตที่พึงปราถนาให้ทัน
ความเจริญและสมดุลด้านความเฉลียวฉลาดทางสติปัญญาและด้านความเฉลียวฉลาดทางเชาวน์อารมณ์
ครู คือ ผู้สร้างค่านิยม กระแสสังคม จะต้องใส่ใจและรับผิดชอบต่อสังคม
ความสำคัญของจิตวิญญาณความเป็นครู
มุ่งเน้นความอดทน = อดทนต่อพฤติกรรมของการดูหมิ่น ต่อคำพูด ต่อความเครียดในการทำงาน
ไม่หยุดซึ่งการพัฒนา = จะต้องเป็นคนที่มีหัวใจของการพัฒนาอยู่เสมอ
การพัฒนาจิตวิญญาณความมเป็นครูเบื้องต้นเพื่อสร้างความสำเร็จในการทำงานฐานะวิชาชีพครู ซึ่งจัดเป็นวิชาชีพชั้นสูงด้วยหลักการของ D-E-V-E-L-O-P
หลากหลายความสามารถ = ต้องเป็นคนที่มีความรู้ความสามารถทำงานได้หลากหลาย
กระตือรือร้นอยู่เสมอ = ต้องมีความกระตือรือร้น มีความตื่นตัวที่แสวงหาความรู้ใหม่ๆ
รักงานที่ทำ = ครูควรจะเลือกที่จะรักงานที่ทำ เพราะจะทำให้ครูมีความสุขกับงาน
จัดการเป็นเลิศ = สามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพได้อย่างเต็มที่
คิดเชิงบวก = เป็นสิ่งที่ช่วยทำให้ครูมองโลกในแง่ดี มีกำลังใจและพลังที่จะทำงานต่าง ๆ
จิตวิญญาณครู
จิตสำนึก ความคิด ทัศนคติ ตามกรอบของจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยม และความคาดหวังของสังคม จิตวิญญาณของความเป็นครูจึงเป็นบทบาทในการหล่อหลอมให้ศิษย์เป็นคนดีด้วยครูเป็นผู้สั่งสอนศิษย์ ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์
แนวการเสริมสร้างศักยภาพให้จิตวิญญาณของควมเป็นครู
รักษาเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งความเป็นครูที่เป็นวิชาชั้นสูง เห็นคุณค่าของวิถีชีวิตที่เป็นครูและครูจะต้องถ่ายทอดพันธุกรรมแห่งความดีไปยังผู้เรียนด้วยจิตสำนึกและวิญญาณของความเป็นครูอย่างแท้จริง