Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
บทที่ 6การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจํากกํารผ่ําตัด เรียกsurgical wound , sterile wound หรือincision wound
แผลที่เกิดจํากถูกของมีคมตัดเรียก cut woundเช่นแผลจํากโดนมีดฟัน หรือถูกเศษแก้วบําดเป็นต้น
แผลที่เกิดจํากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stabwound หรือ peneturatingwound เช่นแผลถูกแทงด้วยมีด
แผลที่เกิดจํากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจํากถูกบดขยี้ เรียก crush wound เช่น แผลถูกเครื่องบดนิ้วมือเป็นต้น
แผลที่เกิดจํากกํารกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน เรียก traumatic wound
แผลที่เกิดจํากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขําดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจํากกํารถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจํากกํารติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจํากกํารตัดอวัยวะบํางส่วน เรียก stump wound เช่นแผลตัดเหนือเข่ํา(Above Knee : AK Amputation)
แผลที่เกิดจํากกํารกดทับ เรียก pressure sore, bedsore,decubitus ulcer, pressure injury
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)หมํายถึง ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกัน อําจเกิดกํารติดกันเอง หรือจํากกํารเย็บด้วยวัสดุเย็บแผล ไม่มีสํารคัดหลั่ง เช่น แผลผ่ําตัดเย็บปิด เป็นต้น
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)หมํายถึง ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน หรือขอบแผลกว้ําง มีสํารคัดหลั่ง เช่น แผลผ่ําตัดยังไม่เย็บปิด (delayedsuture) เป็นต้น
ชนิดของแผลแบ่งตามลำดับความสะอาด
Class I: Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่ําตัดสะอําด ลักษณะเป็นแผลที่ไม่มีกํารติดเชื้อ,ไม่มีกํารอักเสบมําก่อน,กํารผ่ําตัดไม่ผ่ํานระบบทํางเดินหํายใจ ระบบทํางเดินอําหําร,อวัยวะสืบพันธุ์, ท่อปัสสําวะ,blunt trauma ที่ไม่มีกํารแทงทะลุหรือฉีกขําดเป็นแผลผ่ําตัดชนิดปิด
Class II: Clean-contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอําดกึ่งปนเปื้อนลักษณะแผลที่มีกํารผ่ําตัดผ่ํานระบบทํางเดินหํายใจ, ระบบทํางเดินอําหําร, ระบบทํางเดินปัสสําวะ,เป็นกํารผ่ําตัดที่เกี่ยวกับท่อน้ ําดี, อวัยวะสืบพันธุ์ และช่องoropharynx ที่ควบคุมกํารเกิดปนเปื้อนได้ขณะท ําผ่ําตัด เช่นTracheostomy,
Class III: Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อนลักษณะแผลเปิด (open wound) แผลสด (fresh wound) แผลจํากกํารได้รับอุบัติเหตุแผลที่เกิดกํารปนเปื้อนสํารคัดหลั่งจํากระบบทํางเดินอําหําร เป็นแผลที่มีกํารอักเสบเฉียบพลัน เช่น แผลถูกแทง (stabbedwound)
Class IV: Dirty/Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อลักษณะแผลเก่ํา (old traumatic wound) แผลมีเนื้อตําย (gangrene)แผลมีกํารติดเชื้อมําก่อน แผลกระดูกหักเกิน 6 ชั่วโมง เช่น แผลไส้ติ่งแตก
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน(acute wound) เป็นกํารเกิดแผล และรักษําให้หํายในระยะเวลําอันสั้น
แผลเรื้อรัง(chronic wound) เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลํานําน และรักษํายํากหรือรักษําเป็นเวลํานําน อําจมีอํากํารแทรกซ้อนตํามมําภํายหลัง
แผลเนื้อตําย(gangrene wound)เป็นแผลที่เกิดจํากกํารขําดเลี้ยงไปเลี้ยงหรือเลือดมําเลี้ยงไม่เพียงพอ
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
กํารรักษําผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีกํารจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง(retention) ด้วยกํารดํามกระดูกด้วยเหล็กหรือแผ่นเหล็กและตะปูเกลียว(plate and screw) หรือกํารใช้เครื่องตรึงกระดูกภํายนอกร่ํางกําย (external fixator) จึงมีแผลที่รอยเจําะกระดูก และแผลที่ผิวหนัง
2.กํารรักษําแผลด้วยสุญญํากําศ(Negative Pressure Wound Therapy: NPWT)เป็นกํารรักษําแผลที่มีเนื้อตําย หรือแผลเรื้อรังโดยกํารปิดแผลสุญญํากําศมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยให้แผลหํายเร็วขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
แรงกด (pressure)กํารนอนในท่ําเดียวนํานๆ ท ําให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
ภําวะแวดล้อมแห้ง (dry environment) กํารหํายของแผลและมีควํามเจ็บปวดน้อยในภําวะแวดล้อมชุ่มชื้นหํายเร็ว3-5 เท่ํา
กํารได้รับอันตรํายและอํากํารบวม
กํารติดเชื้อ (infection) ท ําให้แผลหํายช้ํา
ภําวะเนื้อตําย (necrosis)
ควํามไม่สุขสบําย (incontinence) กํารปัสสําวะและอุจจําระกะปิดกะปอย
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
อํายุ (age)คนที่มีอํายุน้อยบําดแผลจะหํายได้เร็วกว่ําคนที่มีอํายุมําก
โรคเรื้อรัง(chronic disease) โรคที่มีผลกระทบต่อกํารหํายของแผล
น้ ําในร่ํางกําย (body fluid) ผู้ป่วยอ้วนกํารหํายของแผลค่อนข้ํางช้ํา
กํารไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies) กรณีมีแผลของอวัยวะส่วนปลําย
ภําวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษํา(immunosuppression and radiation therapy)กํารกดภูมิคุ้มกันอันเนื่องมําจํากโรค
ภําวะโภชนํากําร (nutritional status)สํารอําหํารที่จ ําเป็นต่อกํารหํายของแผล คือโปรตีน,อัลบูมิน,คําร์โบไฮเดรต,
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ(Primaryintentionhealing)เป็นแผลประเภทที่ผิวหนังมีกํารสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอําด เช่น แผลผ่ําตัด
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ(Secondaryintentionhealing)เป็นแผลขนําดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกท ําลําย มีกํารสูญเสียเนื้อเยื่อบํางส่วน ขอบแผลมีขนําดกว้ํางเย็บแผลไม่ได้
การหายของแผลแบบตติยภูมิ(Tertiaryintentionhealing)เป็นแผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิ เมื่อท ํากํารรักษําโดยกํารท ําแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด
กระบวนการหายของแผล(Stage of wound healing)
ระยะ1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
เมื่อเกิดกํารฉีกขําดของผิวหนังและหลอดเลือดมีเลือดไหลออก platelet จะท ําหน้ําที่แรก คือ หลั่งสําร thrombokinase และthromboplastinท ําให้ prothrombin กลํายสภําพเป็น thrombin ช่วยท ําให้ fibrinogen เปลี่ยนเป็น fibrin เกิดเป็นลิ่มเลือดท ําให้เลือดหยุด
ระยะ2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
เป็นระยะกํารสร้ํางเนื้อเยื่อใหม่จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน ซึ่งจะเห็น fibroblast (เป็นconnective tissueชนิดหนึ่ง) เกิดขึ้นในแผล เริ่มมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ (granulation tissue) macrophage ยังคงท ําหน้ําที่สร้ําง growth factor ต่อไปgrowth factor จ ําเป็นต่อกํารสร้ํางfibroblastและกระบวนกํารสร้ํางหลอดเลือด (angiogenesis)
ระยะ3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
เป็นระยะสุดท้ํายของกํารสร้ํางและควํามสมบูรณ์ของคอลลําเจนซึ่งfibroblast จะเปลี่ยนเป็น myofibroblast (เป็นเนื้อเยื่อลักษณะเป็นกล้ํามเนื้อ)ที่มีควํามแข็งแรงเพิ่มมํากขึ้นกว่ํา fibroblastควํามแข็งแรง ร้อยละ 20 ของผิวหนังปกติ ระยะนี้จะใช้เวลําหลังกํารผ่ําตัด 20 วัน
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
Continuous methodเป็นวิธีกํารเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดควํามยําวของแผล หรือควํามยําวของวัสดุเย็บแผล โดยไม่มีกํารตัดจนกว่ําจะเสร็จสิ้นกํารเย็บแผล
Interrupted methodเป็นวิธีกํารเย็บแผลที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
Simple interrupted methodเป็นวิธีกํารเย็บแผลเพื่อดึงรั้งให้ขอบแผลทั้งสองติดกัน เหมําะส ําหรับเย็บบําดแผลผิวหนังทั่วไป
Interrupted mattress methodเป็นวิธีกํารเย็บแผลโดยกํารตักเข็มเย็บที่ขอบแผลสองครั้ง ใช้ในรํายที่ต้องกํารควํามแข็งแรงของแผล เหมําะส ําหรับเย็บแผลที่ลึกและยําว
Subcuticular methodเป็นกํารเย็บแผลแบบ continuous methodแต่ใช้เข็มตรงในกํารเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง เหมําะส ําหรับกํารเย็บด้ํานศัลยกรรมตกแต่งเพื่อควํามสวยงําม
Retention method (Tension method)เป็นวิธีกํารเย็บรั้งแผลเข้ําหํากัน เพื่อพยุงแผลในกรณีผู้ที่มีชั้นไขมันหน้ําท้องหนํา
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable sutures)
เส้นใยธรรมชาติได้แก่ catgut ทำมำจําก collagen ใน submucosa ของลำไส้แกะหรือวัว
เส้นใยสังเคราะห์เช่น polyglycolic acid (dexon), polyglycan (vicryl) และ polydioxanone (PDS)ส่วนplain catgut ละลํายได้เร็ว 5-10 วัน
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Non-absorbable sutures)
เส้นใยตามธรรมชาติเช่นไหมเย็บแผล(silk) รําคําถูก ผูกปมง่ําย และไม่คลํายง่ําย ไหมเย็บมีหลํายขนําด
เส้นใยสังเคราะห์เช่น nylon เส้นเหล่ํานี้มีควํามแข็งแรงมํากกว่ําไหมเย็บแผล แต่ผูกปมยํากและคลํายได้ง่ําย
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะเช่น ลวดเย็บ (staples) เป็นวัสดุเย็บแผลส ําเร็จรูป แต่ต้องมีเครื่องมือส ําหรับใส่ลวดเย็บ
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆและการตัดไหม
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing) มีวิธีทำ ดังนี้
เปิดแผลโดยใช้มือ(ใส่ถุงมือ) หยิบผ้ําปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้ํานในทิ้งลงชํามรูปไตหรือถุงพลําสติก เป็นต้น
2.เปิดชุดท ําแผล (ตํามหลักกํารของ IC) หยิบforceps ตัวแรกโดยใช้มือจับด้ํานนอกของผ้ําห่อชุดท ําแผล หยิบขึ้นแล้วใช้ forcepsตัวแรกหยิบforceps ตัวที่สอง วําง forceps ไว้ด้ํานข้ํางถําดของชุดท ําแผล
หยิบnon-tooth forceps ใช้คีบส่งของsterile ท ําหน้ําที่เป็น transfer forceps 4. หยิบtooth forceps ใช้รับของsterile ท ําหน้ําที่เป็นdressing forceps
หยิบส ําลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ แผลวนจํากในออกนอกห่ํางแผล 1นิ้วเป็นบริเวณกว้ําง 2 นิ้ว6. หยิบส ําลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจํากบนลงล่ํางจนแผลสะอําดแล้วเช็ดด้วยส ําลีแห้ง
ทําแผลด้วย antiseptic solutionตํามแผนกํารรักษํา (ถ้ํามี)8. ปิดแผลด้วยgauze ติดพลําสเตอร์ตํามแนวขวํางของล ําตัวโดยเริ่มติดชิ้นแรกตรงกึ่งกลํางของแผลและไล่ขึ้น-ลงตํามล ําดับ ส่วนหัวและท้ํายต้องปิดทับผ้ําgauzeกับผิวหนังให้สนิท
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอดmask และล้ํางมือ ทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
1.เปิดแผลโดยใช้มือ(ใส่ถุงมือ) เปิดชุดท ําแผลตํามหลัก IC หยิบผ้ําปิดแผลส่วนบนทิ้งลงในชํามรูปไตหรือถุงพลําสติกเปิดผ้ําปิดแผลชั้นที่ติดกับแผลด้วยtooth forcepsหํากผ้ําgauze แห้งติดแผลใช้ส ําลีชุบน้ ําเกลือหยดบนผ้ําgauze ก่อน เพื่อให้เลือดหรือสํารคัดหลั่งอ่อนตัว จะช่วยให้ผ้ําgauze หลุดง่ํายและไม่ท ําลํายgranulation tissue
ท ําควํามสะอําดริมขอบแผลเช่นเดียวกับกํารท ํา dry dressing 3. ใช้ส ําลีชุบน้ ําเกลือหรือน้ ํายําตํามแผนกํารรักษําเช็ดภํายในแผลจนสะอําด
ใช้ผ้ําgauze ชุบน้ ํายํา(solution) ใส่ในแผล(packing)เพื่อฆ่ําเชื้อและดูดซับสํารคัดหลั่งให้ควํามชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ 5. ปิดแผลด้วยผ้ําgauzeและปิดพลําสเตอร์ตํามแนวขวํางของล ําตัว
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
กํารเตรียมเครื่องใช้ในกํารท ําแผล เช่นเดียวกับกํารท ําแผลแบบแห้ง ส ําหรับ Penrose drain นั้นโดยปกติแพทย์จะมีแผนกํารรักษําให้ตัดท่อยํางให้สั้นลง(short drain) ทุกวัน โดยอําจตัดออกครั้งละ 2-5เซนติเมตร (1นิ้ว) จึงต้องเพิ่มอุปกรณ์ในกํารท ําแผลท่อระบําย ได้แก่กรรไกรตัดไหม เข็มกลัดซ่อนปลําย
ใช้non-tooth forceps (ท ําหน้ําที่เป็น transfer forceps)หยิบส ําลีชุบalcohol70% ส่งต่อให้ tooth forceps (ท ําหน้ําที่เป็น dressing forceps) เช็ดผิวหนังรอบท่อระบํายวนจํากในออกนอกแบบครึ่งวงกลม
ใช้ส ําลีชุบ NSS เช็ดตรงกลํางแผลท่อระบําย แล้วเช็ดด้วยส ําลีแห้ง4. ใช้ส ําลีชุบalcohol70% เช็ดท่อระบํายจํากเหนือแผลออกมําด้ํานปลํายท่อระบําย เช็ดด้วยส ําลีแห้ง
กรณี Penrose drain และแพทย์มีแผนกํารรักษําให้ตัดท่อยํางให้สั้น (short drain) หยิบgauze 1ผืน เพื่อจับเข็มกลัดซ่อนปลําย ใช้ forceps บีบเข็มกลัดให้อ้ําออก จับไว้ในมือข้ํางที่ถนัด ใช้มืออีกข้ํางถือ forceps จับท่อระบํายดึงท่อระบํายออกมํา1 นิ้ว
พับครึ่งผ้ําgauzeวํางสองข้ํางของท่อระบํายแล้ววํางผ้ํา gauzeปิดทับท่อระบํายอีกชั้น และปิดพลําสเตอร์ให้เรียบร้อย
หลังกํารท ําแผลเสร็จแล้วจัดท่ําให้ผู้ป่วยสุขสบําย และดูแลสภําพแวดล้อม พยําบําลต้องให้ค ําแนะน ําในกํารปฏิบัติตัวเกี่ยวกับกํารดูแลตนเอง
การตัดไหม (Sutureremoval)
ท ําควํามสะอําดแผลใช้alcohol 70% เช็ดรอบแผล เช็ดรอยพลําสเตอร์ออกด้วยเบนซิน และเช็ดตํามด้วยalcohol 70% และน้ ําเกลือล้ํางแผลแล้วเช็ดแห้งก่อนท ํากํารลงมือตัดไหม หยิบผ้ํา gauze วํางเหนือแผล
กํารตัดไหมที่เย็บแผลชนิดinterrupted method โดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ โดยใช้tooth forceps จับชํายไหมส่วนที่อยู่เหนือปมที่ผูกไว้ ดึงขึ้นพอตึงมือจะเห็นไหมใต้ปมโผล่พ้นผิวหนังขึ้นมําและสอดปลํายกรรไกรตัดไหมในแนวรําบขนําดกับผิวหนังเล็กตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังซึ่งอยู่ใต้ปมที่ผูกแล้วดึงไหมในลักษณะดึงเข้ําหําแผลเพื่อป้องกันแผลแยก
กํารตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted mattress โดยใช้ไหมผูกปมเป็นอัน ๆ ชนิดสองชั้น ให้ตัดไหมส่วนที่มองเห็นและอยู่ชิดผิวหนังมํากที่สุด ซึ่งอยู่ด้ํานตรงกันข้ํามกับปมไหมให้ตัดไหมด้วยวิธีเดียวกับกํารเย็บแผลแบบinterrupted method
กํารตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method ให้ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้ํานตรงกันข้ํามกับปมที่ผูกอันแรกและอันถัดไปด้ํานเดิม เมื่อดึงไหมออกส่วนที่เป็นปมผูกไว้อันแรก และส่วนที่อยู่ชิดผิวหนัง ซึ่งติดกับไหมที่เย็บอันที่สองจะหลุดออก ส่วนไหมปมอันถัดไปให้ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้ํานเดิม ท ําเช่นนี้จนถึงปมไหมอันสุดท้ําย
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ท ําควํามสะอําดแผลผ่ําตัดตํามปกติ กํารตัดลวดเย็บแผลต้องใช้เครื่องมือตัด เรียกว่ํา “removal staple” (ดังรูปที่ 7)โดยอ้ําส่วนปลํายซึ่งมีลักษณะคล้ํายคีมสอดใต้ลวดเย็บกดด้ํานมือจับให้ส่วนปลํายกดวลดเย็บงอแล้วดึงลวดออกทีละเข็มจนครบ
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage)เป็นผ้ําสํามเหลี่ยมท ําด้วยผ้ําเนื้อละเอียดไม่ระคํายเคืองต่อผิวหนัง ด้ํานยําวยําวกว่ําด้ํานกว้ําง
2.ผ้าพันแผลชนิดม้วน(roller bandage)เป็นม้วนกลมชนิดที่ไม่ยืด (roll gauze) และชนิดยืด (elastic bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage) เป็นผ้ําที่มีรูปร่ํางแตกต่ํางกันไป เช่นผ้ําพันท้องหลํายหําง ปัจจุบันมีวัสดุกํารแพทย์ที่ทันสมัยมําใช้แทน
วิธีการพันแผล
กํารใช้ผ้ําสํามเหลี่ยม ผ้ําสํามเหลี่ยมเป็นสํามเหลี่ยมที่มีมุมยอดเป็นมุมฉําก ขนําดของผ้ําที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนําดของตัวผู้ป่วยและอวัยวะที่ต้องกํารพันผ้ํา
กํารใช้ผ้ําพันแผลชนิดม้วน มีหลักกํารพันผ้ํา ได้แก่ เริ่มต้นพันผ้ําจํากส่วนเล็กไปหําส่วนใหญ่ พันผ้ําเข้ําหําตัวผู้ป่วย ตั้งต้นและจบผ้ําพันด้วยกํารพันรอบทุกครั้งเพื่อให้ผ้ําไม่เลื่อนหลุด กํารเริ่มต้น กํารต่อผ้ํา หรือกํารจบของกํารพันผ้ํา ต้องระวังไม่ต ําแหน่งที่เริ่มหรือจบผ้ํานั้นต้องไม่ตรงกับบริเวณที่เป็นแผลหรือบริเวณที่มีกํารอักเสบ
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบวงกลม(circular turn)เหมําะส ําหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก เช่น แขน ขํา นิ้วมือ นิ้วเท้ํา
การพันแบบเกลียว (spiral turn)เหมําะส ําหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก เช่น แขน ขํา นิ้วมือ นิ้วเท้ํา
การพันแบบเกลียวพับกลับ(spiral reverse)เหมําะส ําหรับอวัยวะที่เป็นทรงกระบอก กํารพันแบบนี้ใช้พันเมื่อต้องกํารควํามอบอุ่นหรือต้องกํารแรงกด
การพันเป็นรูปเลข 8(figure ofeight)เหมําะส ําหรับพันบริเวณข้อพับ เช่น ข้อศอก ข้อเข่ําข้อเท้ํา เพื่อให้ข้อดังกล่ําวเคลื่อนไหวได้
การพันแบบกลับไปกลับมา (recurrent)เหมําะส ําหรับกํารพันเพื่อยึดผ้ําปิดแผลที่ศีรษะ หรือกํารพันแผลที่เกิดจํากกํารถูกตัดแขน ขํา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อํายุ ผู้ป่วยที่เกิดแผลกดทับ ร้อยละ 70 เป็นผู้ที่มีอํายุ 60 ปีขึ้นไป
ภําวะโภชนํากําร ผู้ป่วยที่ได้รับสํารอําหํารที่ไม่เพียงพอ
ยําที่ได้รับกํารักษํา ได้แก่ ยําขับปัสสําวะ ยําระบําย
กํารผ่ําตัด ผู้ป่วยที่ใช้เวลําในกํารนํานกว่ํา 3 ชั่วโมง จะมีโอกําสเสี่ยงต่อกํารเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด เป็นแรงที่กดบริเวณลงระหว่ํางผิวหนังผู้ป่วยกับพื้นรองรับน้ ําหนักเป็นสําเหตุส ําคัญที่สุดของกํารเกิดแผลกดทับ
แรงเสียดทําน เกิดระหว่ํางผิวหนังชั้นนอกกับพื้นผิวสัมผัส เช่นเสื้อผ้ํา
แรงเฉือน (หมํายถึงแรงกระท ําในทิศทํางตั้งฉํากกับงําน) เป็นแรงดึงรั้งระหว่ํางชั้นผิวหนังเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลกและแรงต้ํานที่ท ําให้ผิวหนังอยู่กับที่
ควํามชื้น เกิดจํากสํารคัดหลั่งของร่ํางกํายผู้ป่วยเองจะท ําให้ควํามต้ํานทํานต่อแรงกดลดลงจะเกิดแผลกดทับได้ง่ําย
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่1 ผิวหนังแดงไม่มีกํารฉีกขําดของผิวหนังและไม่จํางหํายไปภํายใน 30 นําที
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกท ําลํายฉีกขําดเป็นแผลตื้น มีรอยแดงบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆ และเริ่มมีสํารคัดหลั่งจํากแผล
ระดับที่3แผลลึกถึงชั้นไขมัน(subcutaneous)แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ํามเนื้อ (muscle) มีรอยแผลลึก มีสิ่งขับหลั่งจํากแผล เริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตําย (necrosis tissue)
ระดับที่ 4แผลลึกเป็นโพรงถึงกล้ํามเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตําย
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
กํารประเมินควํามเสี่ยงตํามแบบประเมินควํามเสี่ยงของกํารเกิดแผลกดทับ
2.กํารเฝ้ําระวังควํามเสี่ยงและควรกํารประเมินซ้ ําเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
กํารใส่อุปกรณ์ทํางกํารแพทย์ที่เป็นเหตุให้ผู้ป่วยมีกํารเคลื่อนไหวลดลง มีกํารผ่ําตัดที่นํานกว่ํา 3 ชั่วโมงผู้ป่วยที่ได้รับยําแก้ปวด ยําระงับชัก ยําsteroid ผู้ป่วยที่ไม่สํามํารถควบคุมกํารขับถ่ํายได้ ผู้ป่วยที่มีไข้สูงมีเหงื่อออกมําก ผู้ป่วยที่ระดับควํามรู้สึกตัวลดลง ผู้ป่วยที่มีภําวะพร่องทํางโภชนํากําร
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อกํารเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมกํารหํายของแผล
ให้กํารดูแลช่วยเหลือและค ําแนะน ําทั่วไป
กํารดูแลและค ําแนะน ําเรื่องอําหํารและโภชนํากํารในผู้ป่วยที่ไม่มีข้อจ ํากัดในกํารได้รับสํารอําหํารหรือพลังงํานควรดูแลให้ได้รับสํารอําหํารครบถ้วนหรือมีแคลอรี่เพียงพอ (2,500-2,800กิโลแคลอรี่/วัน) ในรํายที่รับประทํานอําหํารได้น้อยหรือรับประทํานอําหํารเองไม่ได้อําจพิจํารณําให้อําหํารทํางสํายยําง อําหํารเสริม
กํารดูแลและค ําแนะน ําเรื่องยําที่ใช้ในกํารรักษําผู้ป่วยได้รับยําควรประเมินอํากํารหลังได้รับยํา เพื่อให้กํารช่วยเหลือผู้ป่วย เช่น ยําที่มีผลให้เกิดอํากํารง่วงซึม กํารเคลื่อนไหวลดลง ควรช่วยเหลือในกํารกระตุ้นกํารเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนท่ําให้ทุก 2ชั่วโมงยําsteroid ซึ่งมีผลกดกํารท ําหน้ําที่ของmacrophage กดกํารสร้ําง fibroblast และเซลล์เยื่อบุผิว
กํารดูแลและค ําแนะนะส ําหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้อุปกรณ์
กํารดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหํากํารขับถ่ํายปัสสําวะหรืออุจจําระ
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic nursing care)
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านจิตวิญญาณ
การประเมินผล (Evaluation)