Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรมและกฎหมายวิชาชีพ และกฏหมายอื่นที่เกี่ยวกับทีมสุขภาพ - Coggle…
จริยธรรมและกฎหมายวิชาชีพ และกฏหมายอื่นที่เกี่ยวกับทีมสุขภาพ
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสื่อสารในทีมสุขภาพ
แนะนำตนเองและบทบาทวิชาชีพต่อทีมสุขภาพ
เปิดใจรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นพร้อมกับเป็นผู้ฟังที่ดี
ทราบวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในการสื่อสาร
มีการสรุปความเพื่อให้มีการเข้าใจที่ตรงกัน
ให้ข้อมูลที่สำคัญขณะติดต่อสื่อสาร เพื่อให้เข้าใจได้ตรงกัน
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมี 4 ด้าน
การฟัง
การให้ข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจน
การรับข้อมูลข่าวสารที่ปราศจากอคติ
การสื่อสารแบบเปิด
การทำ CPG ในรายที่มี Head injury
ปวดศีรษะเล็กน้อย
รับประทานยาแก้ปวดตามที่แพทย์สั่ง
ควรมีผู้ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดอย่างน้อย 24 ชั่วโมง ควรปลุกผู้ป่วยทุก 2-4 ชั่วโมง เพื่อประเมินระดับความรู้สึกตัวของตัวผู้ป่วย
หากมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้รีบมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาล
1.ปวดท้ายทอย
2.เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว ภาพซ้อน
3.อาการผิดปกติอื่น ๆ ที่น่าสงสัย
4.มีอาการซึมลงกว่าเดิม ปลุกไม่ตื่น / หมดสติ
5.กระสับกระส่าย การพูด / พฤติกรรมผิดปกติ
6.ชักกระตุก
7.แขนขาอ่อนแรง
8.มีไข้ อาเจียน ปวดศีรษะทานยาแก้ปวดแล้วไม่ทุเลาลง
9.มีน้ำใส / น้ำใสปนเลือดออกจากหู จมูก ให้รีบมาโรงพยาบาล
พระราชบัญญัติ
พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558
หมวดที่ 5 การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
:star:
มาตรา 31
ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือ
โรคระบาดเกิดขึ้น ให้บุคคลดังต่อไปนี้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
บทลงโทษ
:star:
มาตรา 50
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งตามมาตรา 31
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
พ.ร.บ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2540
ข้อ 3 มาตรฐานการปฎิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรฐานที่ 2 การรักษาสิทธิผู้ป่วย จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
มาตรฐานที่ 4 การจัดการดูแลต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ 5 การบันทึกและรายงานบันทึกและรายงานการพยาบาล และการผดุงครรภ์ให้ครอบคลุม
ประพฤติผิดจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ตามมาตราที่ 32
ที่กำหนดไว้ว่า
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ / หรือการผดุงครรภ์จะต้องรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการพยาบาล
ญาติและผู้ป่วยมีสิทธิยื่นเรื่องกล่าวหาได้ (ตามมาตรา 33)
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง
โทษทางวิชาชีพ (ม.41)
ยกข้อกล่าวหา / กล่าวโทษ
ว่ากล่าวตักเตือน
ภาคทัณฑ์
พักใช้ใบอนุญาต มีกำหนดเวลาตามสมควร แต่ไม่เกิน 2 ปี
เพิกถอนใบอนุญาต
พ.ร.บ.สถานพยาบาล
:star:
มาตรา 12
ผู้รับอนุญาตต้องแสดงรายละเอียด
ชื่อสถานพยาบาล
อัตราค่ารักษาพยาบาล / ค่ายา / เวชภัณฑ์ / สิทธิผู้ป่วย
:star:
มาตรา 34
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ดำเนินการ
ควบคุมไม่ให้ผู้ประกอบวิชาชีพประกอบวิชาชีพผิดไปจากแผนที่แจ้งไว้ และปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของวิชาชีพตน
:star:
มาตรา 36
ผู้รับอนุญาต ต้องดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วย ซึ่งสภาพอันตรายต้องได้รับการรักษาฉุกเฉิน
พ.ร.บ.ยา
:star:
มาตรา 22
ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ ต้องมีเภสัชเฉพาะชั้นหนึ่ง เภสัชเฉพาะชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่ง ในสาขาทันตกรรมการผดุงครรภ์หรือการพยาบาลเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา 41 ประจำอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทำการ
:star:
มาตรา 12
ห้ามมิให้ผู้ใดผลิตหรือขายหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งยาแผนปัจจุบันเว้นแต่ได้รับการอนุญาตและเป็นไปตามหลักเกณฑ์
:star:
มาตรา 14
ออกใบอนุญาตให้ได้เมื่อเป็นเจ้าของกิจการ มีถิ่นที่อยู่ในไทย ไม่เคยได้รับโทษจำคุกด้านการทุจริต ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต
:star:
มาตรา 15
ประเภทใบอนุญาตยาแผนปัจจุบัน ผลิตยา ขายยา สั่งยา ขายยาเฉพาะ ยาบรรจุสำหรับสัตว์ สั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร ขายยาเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่อันตราย สั่งยาเข้ามาโดยกระทรวงกรม สำหรับการป้องกันและบำบัดโรค
มาตรา 41 ของ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการได้รับบริการสาธารณสุข
หลักเกณฑ์การจ่ายเงินค่าช่วยเหลือเบื้องต้น
ความเสียหายที่เกิดจากเหตุสุดวิสัยในระบบการรักษาพยาบาลต้องเป็นความเสียหายที่ดำเนินตามพยาธืสภาพของโรค ภาวะแทรกซ้อน ต้องยืนคำร้องภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ทราบความเสียหาย พิจารณาให้เสร็จภายใน 30 วัน
การพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
สามารถแบ่งแยกได้ 2 กรณี
(1) กรณีผู้รับบริการยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นครั้งแรก
(2) กรณีอุทธรณ์ เป็นกรณีเมื่อผู้รับบริการ ทายาทหรือผู้อุปการะ ไม่เห็นด้วยกับผลวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการ มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข โดยต้องยื่นอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับทราบผลการวินิจฉัย