Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับสารและการส่งสาร - Coggle Diagram
การรับสารและการส่งสาร
ความรู้เกี่ยวกับการส่งสาร
ความหมายและความสำคัญของการส่งสาร
การส่งสารคือพฤติกรรมเพื่อสื่อความหมายของมนุษย์ เป็นการเเสดงออกเพื่อการติดต่อสื่อสารโดยใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้ความคิด หรืออื่นๆของตนให้ผู้อื่นทราบ
ข้อคำนึงในการส่งสาร
การเลือกถ้อยคำให้เหมาะสม
การเลือกเรื่องที่สนใจร่วมกัน
ไม่นำเรื่องส่วนตัวมาเผยแพร่
หลีกเลี่ยงการว่าคนอื่น
ไม่โอ้อวด
การคำนึงถึงสถานการณ์
หลักในการส่งสาร
หลักในการส่งสารด้วยคำพูด
โครงสร้างของการพูด
การทักทายผู้ฟัง
คำนำ หรืออารัมภบท
เนื้อเรื่อง
บทสรุปหรือคำลงท้าย
การพูดให้ประสบความสำเร็จ
บุคลิกคภาพ
อิริยาบถ
การใช้สายตา
การใช้น้ำเสียง
หลักการทั่วไปในการส่งสาร
การเรียบเรียงเนื้อหา
การทบทวนแก้ไข
การวางโครงเรื่อง
การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
การกำหนดเรื่อง
การกำหนดจุดหมาย
ประเภทของการส่งสาร
การพูด เป็นการถ่ายทอดสารของผู้ส่งสาร โดยผ่านถ้อยคำ สีหน้าแววตา น้ำเสียงเพื่อให้ผู้รับสาร เกิดการตอบสนอง
การเขียนเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความรู้สึกนึกคิด ของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร โดยใช้สัญลักษณ์ คือตัวอักษรแทนคำพูด
ความรู้เกี่ยวกับการรับสาร
ความหมายและความสำคัญของการรับสาร
หมายถึง การที่ผู้รับสารแปลความหมายที่ส่งสารสื่อมาด้วยคำพูด การเขียนหรืออื่นๆ ที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารรับรู้ร่วมกัน
หลักในการรับสาร
3.มุ่งมั่นตั้งใจ เลือกจดจำไว้แนะนำที่ฟังหรืออ่านไปใช้ประโยชน์ได้
4.ไม่มีอคติต่อสารและผู้ส่งสาร
2.รู้จักเลือกสรร
5.ใช้วิจารณญาณในการรับสาร
1.เตรียมตัวรับสาร
6.จดจำเเละบันทึกสารเพื่อให้เป็นประโยชน์
ประเภทของการรับสาร
การฟัง เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการได้ยิน ผู้ฟังต้องใช้สมรรณทางสมอง และจิตใจ สมาธิ เชื่องโยงเสียงที่ได้ยินเข้ากับประสบการณ์ และความรู้เกี่ยวกับความหมายของถ้อยคำ แล้วใช้ความคิดเข้าใจสาร
การอ่าน เป็นกระบวนการทางสมองที่สร้างความหมายจากสารที่ผู้เขียนสื่อโดยอาศัยภาษา
กระบวนการการรับสาร
การรับรู้ เป็นขั้นตอนต่อเนื่องจากการฟังเสียงหรือมองเห็น
การจำได้ เป็นขั้นตอนต่อจากการได้ยินหรือได้อ่าน
การเข้าใจ เกิดจากผู้รับสารรู้จักคิดและตีความสาร
การเลือกสรร ผู้รับสารต้องรู้จักวิเคราะห์ พิจารณาสาร
การปฏิเสธ ปฏิเสธส่วนที่เห็นว่าผิดพลาด หรือคลาดเคลื่อน
การประเมินค่า ผู้รับสารประเมินค่าสารว่ามีคุณค่ามากน้อยเพียงใด
การรวบรวม เป็นขั้นตอนที่ต้องรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
การระลึกได้ คือคิดถึงสิ่งที่จดจำได้
การอนุมาน เป็นขั้นตอนของการอ้างอิง
การสรุป เป็นขั้นตอนของการสรุปคือผู้รับสารต้องสรุปความคิดรวบยอด