Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผล
ผิวหนัง
ทำหน้าที่ปกป้องอวัยวะต่ำงๆ ที่อยู่ใต้ผิวหนังลงไป
จากความร้อน แสง การติดเชื้อ และสภาพแวดล้อม
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่
กักเก็บน้ำและไขมัน มีประสาทรับรู้ความรู้สึก
ช่วยป้องกันการสูญเสียน้ำ
ป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
หนังกำพร้า (epidermis)
หนังแท้ (dermis)
ไขมันใต้ผิวหนัง (subcutaneous)
แผล
ผิวหนังเกิดการฉีกขาดจากสาเหตุใดก็ตามทำให้ผิวหนังสูญเสียหน้าที่
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
แบ่งตามสาเหตุ
1.1 แผลที่เกิดจากการผ่าตัด surgical wound
1.2 แผลที่เกิดจากของมีคมตัด cut wound
1.3 แผลที่เกิดจากของมีคมทิ่มแทง stab wound
1.4 แผลที่เกิดจากการโดนระเบิด explosive wound
1.5 แผลที่เกิดจากการบดขยี้ crush wound
1.6 แผลที่เกิดจากการกระแทก traumatic wound
1.7 แผลที่เกิดจากการถูกยิง gunshot wound
1.8 แผลที่มีขอบขาดกะรุ่งกะริ่ง lacerated wound
1.9 แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก abrasion wound
1.10 แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง infected wound
1.11 แผลที่เกิดจากการตัดอวัยวะบางส่วน stump wound
1.12 แผลที่เกิดจากการกดทับ pressure sore
1.13 แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก burn and scald
จากสารเคมีที่เป็นด่าง alkaline burn
สารเคมีที่เป็นกรด acid burn
ถูกความเย็นจัด frost bite
ไฟฟ้าช็อต electrical burn
จากรังสี radiation burn
1.14 แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง skin graft
แบ่งตามลักษณะ
2.1 แผลแห้ง dry wound
แผลมีขอบติดกัน อาจเกิดการติดกันเองหรือเย็บ ไม่มีสารคัดหลั่ง
2.2 แผลเปียกชุ่ม wet wound
ขอบแผลไม่ติดกัน มีสารคัดหลั่ง
แบ่งตามลำดับความสะอาด
3.1 Clean wound
แผลผ่าตัดสะอาด
ไม่มีการติดเชื้อ
ไม่มีการอักเสบมาก่อน
การผ่าตัดไม่ผ่านระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร อวัยวะสืบพันธ์ ท่อปัสสาวะ เป็นต้น
ไม่มีการแทงทะลุ
เป็นแผลชนิดปิด
3.2 Clean-contaminated
แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
แผลผ่าตัดผ่านะบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ท่อปัสสาวะ เป็นต้น
ควบคุมการเกิดการปนเปื้อนขณะผ่าตัดได้
3.3 Contaminated
แผลปนเปื้อน
ลักษณะเปิด
มีการอักเสบเฉียบพลัน
3.4 Dirty/Infected
แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
แผลเก่า
มีเนื้อตาย
มีการติดเชื้อมาก่อน
ปผลกระดูกหักเกิน 6 ชั่วโมง
แบ่งตามระยะการเกิด
4.1 เกิดเฉียบพลัน
การเกิดและการรักษาแผลใช้เวลาสั้น
4.2 แผลเรื้อรัง
เกิดเป็นระยะเวลานาน รักษายาก
มีอาการแทรกซ้อนตามมาภายหลัง
4.3 แผลเนื้อตาย
แผลที่เลือดไปเลี้ยงไม่พอ หลอดเลือดตีบแข็ง
แบ่งตามการรักษา
5.1 รักษาผู้ป่วยศัลยกรรม ด้วยการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
5.2 รักษาแผลด้วยสุญญากาศ
ใช้รักษาแผลเนื้อตาย แผลเรื้อรัง
ลดการบวมของแผลและเนื้อใกล้เคียง
เพิ่มปริมาณเลือดเข้าสู่แผล
กระตุ้นการงอกใหม่ของเซลล์
ลดแบคทีเรีย
5.5 แผลท่อระบายทรวงอก
ศัลแพทย์ทำการเจาะปอดเพื่อใส่ท่อระบายของเสียออกจากปอดในผู้ป่วยที่มีพยาธิที่ปอด
5.4 แผลท่อหลอดคอ
การผ่าตัดเปิดหลอดลม เพื่อใส่ท่อช่วยหายใจ
5.3 แผลท่อระบาย
แพทย์เจาะผิวหนังเพื่อใส่ท่อระบายของเสีย เป็นท่อระบบปิด
5.6 แผลทวารเทียมหน้าท้อง
การผ่าตัดเปิดลำไส้ใหญ่ออกทางหน้าท้อง
เพื่อระบายอุจจาระ
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
ปัจจัยเฉพาะที่
1.1 แรงกด = การนอนท่าเดียวนานๆ เลือดไปเลี้ยงบาดแผลน้อย
1.2 ภาวะแวดล้อมแห้ง = การหายของแผล
และมีความเจ็บปวดน้อยในภาวะแวดล้อมชุ่มชื้นหายเร็ว 3-5 เท่า .ในภาวะแวดล้อมแห้ง
1.3 การได้รับอันตรายและการบวม = ส่งผลต่อการส่งออกซิเจน และสารอาหารเข้าสู่แผล
1.4 การติดเชื้อ = ทำให้หายช้า
1.5 ภาวะเนื้อตาย
slough = เปียก สีเหลือง เหนียว ยืดหยุ่น ปกคลุมบาดแผล
eschar = หนา เหนียว คล้ายหนังสัตว์มีสีดำ ต้องตัดออกก่อนทำความสะอาด
1.6 ความไมสุขสบาย = ปัสสาวะอุจจาระกระปริกระปอย ทำให้ผิวหนังเปียกและสกปรกตลอดเวลา
ปัจจัยระบบ
2.1 อายุ = อายุน้อยแผลจะหายเร็วกว่าคนอายุมาก
2.2 โรคเรื้อรัง
2.3 น้ำในร่างกาย
2.4 การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง
2.5 ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
2.6 ภาวะโภชนาการ
ลักษณะและกระบวนการการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล
แบบปฐมภูมิ
ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเนื้อเล็กน้อย และเป็นแผลสะอาด
แบบทุติยภูมิ
อผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน ขอบแผลกว้าง เย็บไม่ได้ ใช้เวลานานในการรักษา เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
แบบตติยภูมิ
แผลชนิดเดียวกับทุติยภูมิ ไม่มีอาการแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว
กระบวนการหายของแผล
ระยะ 1 : ห้ามเลือดและอักเสบ
ระยะ 2 : การสร้างเนื้อเยื่อ
ระยะ 3 : การเสริมความแข็งแรง
การบันทึกลักษณะบาดแผล
มาตรการวัด
ความยาว
ความกว้าง
ความลึก
ช่องโพรง
สิ่งที่ควรระบุในการบันทึก
ชนิดของบากแผล
ตำแหน่ง/บริเวณ
ขนาด
สี
ลักษณะผิวหนัง
ความรุนแรงของแผล
สารคัดหลั่ง
วิธีการเย็บแผล
วัตถุประสงค์
ห้ามเลือด
ดึงขอบแผลเข้าหากัน
ส่งเสริมการหายของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าไปในแผล
รักษาสภาพปกติขอผิวหนัง
วิธีการ
Continuous method
การเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
ไม่มีการตัดจนกว่าจะเสร็จสิ้นการเย็บ
Interrupted method
Simple interrupted method
เย็บเพื่อดึงรั้งขอบแผลให้ติดกับ
เหมาะกับแผลผิวหนังทั่วไป
Interrupted mattress method
เย็บโดยการตักเข็มเย็บที่ของแผลสองครั้ง สำหรับรายที่ต้องการความแข็งแรงของแผล สำหรับแผลลึกและยาว
Subcuticular method
เย็บแผลแบบ continuous method แต่ใช้เข็มตรงในการเย็บ ซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ใต้ผิวหนัง
Retention method
เย็บรั้งแผลเข้าหากัน เพื่อพยุงแผล
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
วัตถุประสงค์
ให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเนื้อเยื่อ
ดูดซึมสารคัดหลั่ง
จำกัดการเคลื่อนไหวของแผล
ให้ความชุ่มชื้นของพื้นผิว
ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่
ป้องกันแผลกระทบกระเทือน
ป้องกันการปนเปื้อน
ห้ามเลือด
ช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ชนิดของการทำแผล
แบบแห้ง Dry dressing
ไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล
ใช้ทำความสะอาดแผลปิด แผลที่ไม่อักเสบ ไม่มีสารคัดหลั่ง
แบบเปียก Wet dressing
ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล
ใช้ทำแผลเปิด แผลอักเสบติดเชื้อ แผลที่มีสารคัดหลั่งมาก
การตัดไหม
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอันหรือตัดอันเว้นอัน
ไม่ควรดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง
และต้องดึงออกให้หมด
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลให้หยุดทำ
และปิดด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อ
ใช้เป็นแรงกดป้องกันเลือดไหล
ช่วยพยุงผ้าปิดแผลให้อยู่กับที่
ให้ความอบอุ่นบริเวณนั่นๆ
ช่วยให้อวัยวะอยู่คงที่ พยุงอวัยวะไว้
รักษารูปร่างขออวัยวะให้พร้อมที่จะใส่อวัยวะเทียม
ชนิดผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม
ทำด้วยผ้าเนื้อละเอียด ไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
ด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ม้วนกลม ไม่ยืดและยืด
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
รูปร่างต่างกัน เช่น abdominal support เป็นวัสดุทางการแพทย์สำเร็จรูป สำหรับพยุงอวัยวะในช่องท้องหลังผ่าตัด
หลักการ
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้าเข้าหากัน จัดท่าให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่าที่สบายวาง อวัยวะส่วนที่จะพันผ้าให้รู้สึกผ่อนคลาย
ตำแหน่งที่ต้องการจะพันผ้าผิวหนังบริเวณนั้น
ต้องสะอาดและแห้ง
การรลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้าพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมาะสม
ต้องทำความสะอาดบาดแผล และปิดผ้าปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน แล้วจึงพันผ้าปิดทับ
ต้องใช้ผ้าก๊อสคั่นระหว่างนิ้วก่อน ป้องกันการเสียดสีของผิวหนังอาจทำให้เกิดแผลระหว่างนิ้วได้
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนนั้นไว้ เพื่อช่วยให้ผู้พันผ้าสะดวกและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการพันผ้าในตำแหน่งนั้น ๆ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับ
และการป้องกันแผลกดทับ
พยาธิสภาพของการเกิดแผล
ขณะที่มีแรงกดทับลงบนผิวหนังจะมีค่ำเฉลี่ยของแรงกดกับหลอดเลือดฝอยเท่ากับ 25 มม.ปรอท เมื่อมีแรงกดทับผิวหนังที่ทำกับปุ่มกระดูกเป็นเวลานำนทำ ให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อรอบ ๆ ขาดออกซิเจนจากโลหิตมาเลี้ยงไม่ได้
ทำให้เกิดการตายของผิวหนังและเนื้อเยื่อต่ำงๆ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการรักษา
การผ่าตัด
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
ความชื้น
ระดับความรุนแรงของแผลกดทับ
ระดับที่ 1 = ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนัง
และไม่จางหายไปภายใน 30 นาที
ระดับ 2 = ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น เริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผล
ระดับ 3 = แผลลึกถึงชั้นไขมัน มีสิ่งขับหลั่งจากแผล
มีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย
ระดับ 4 = แผลลึก เป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก
และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตาย
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสืี่ยง
ของแผลกดทับ
การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
และเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
สถานการณ์ตัวอย่าง
ผู้ป่วยหญิงไทย คู่ อายุ 44 ปี แพทย์วินิจฉัยเป็น
โรคแผลกระเพาะอาหารทะลุ
S/P Explore lab to Simple closer เป็นวันที่ 2 on IV fluid for antibiotic
การประเมินภาวะสุขภาพ
S : “รู้สึกปวดแผลหน้าท้อง”
O : หญิงไทย คู่ อายุ 44 ปี Peptic ulcer perforate S/P Explore lab to Simple closer, 2nd day.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดเนื่องจากเป็นประเภท
แผลผ่าตัดปนเปื้อน
การวางแผนให้การพยาบาล
วำงแผนลดอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดและส่งเสริมการหายของแผลเป็นไปตาม กระบวนการหายของแผลผ่าตัด
dการปฏิบัติการทางพยาบาลแบบองค์รวม
4.1 ด้านร่างกาย
ประเมินประเภทแผลผ่าตัดและขั้นตอนการหายของแผล
ทำแผล dry dressing OD ด้วยวิธี aseptic technique
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีวิตามินซีสูง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 2,000 มิลิิลิตร
แนะนำไม่ให้แผลเปียกน้ำ
ช่วยทำความสะอาดร่างกายบางส่วนเท่าที่จำเป็น
จัดสิ่งแวดล้อมสถานที่ให้สะอาด
จัดท่านอนศีรษะสูงเพื่อช่วยลดอาการตึงของกล้ามเนื้อหน้าท้องบรรเทาอาการ ปวดแผลและส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วย
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาและติดตามอาการแพ้ยาที่อาจเกิดได้
ติดตามอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นได้
ลงบันทึกทางการพยาบาล
4.2 ด้านจิตใจ
ประยุกต์ใช้หลักการพยาบาลที่ส่งผลต่อจิตใจอย่างเป็นรูปธรรม
4.3 ด้านสังคม
การสร้างสัมพันธภาพกับคนไข้เป็นสิ่งจำเป็นขั้นพื้นฐาน
4.4 ด้านจิตวิญญาณ
ขณะนอนพักบนเตียงให้ฟังเพลงหรืออ่านหนังสืออ่านเล่นหรือหนังสือธรรมะ
แนะนำให้สวดมนต์ทำสมาธิก่อนนอน
แนะนำให้ทำใจปล่อยวางกับความเจ็บป่วยที่เป็นสัจธรรมและทุกขเวทนา
การประเมินผล
1 การประเมินผลทางการพยาบาล
การประเมินกิจกรรม
การประเมินคุณภาพการบริการ