Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผลชนิดของแผล (Type of wound)
ชนิดของแผล (Type of wound)
แบ่งตามลำดับความสะอําด
Class II: Clean-contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
แผลที่มีการผ่าตัดผ่านระบบทางเดินหายใจ, ระบบทํางเดินอาหาร, ระบบทางเดินปัสสาวะ,เป็นการผ่าตัดที่เกี่ยวกับท่อน้ำดี, อวัยวะสืบพันธุ์ และช่องoropharynx ที่ควบคุมกํารเกิดปนเปื้อนได้ขณะที่ผ่าตัด
Class III: Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
แผลเปิด (open wound) แผลสด (fresh wound) แผลจากการได้รับอุบัติเหตุแผลที่เกิดกํารปนเปื้อนสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินอาหาร เป็นแผลที่มีการอักเสบเฉียบพลัน
ผลถูกแทง (stabbedwound) แผลถูกยิง (gunshot wound) เป็นต้นอัตราเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ≥15%
Class I: Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด
ไม่มีการอักเสบมาก่อน
การผ่าตัดไม่ผ่านระบบทํางเดินหายใจ ระบบทํางเดินอาหาร,อวัยวะสืบพันธุ์, ท่อปัสสําวะ,blunt trauma ที่ไม่มีการแทงทะลุหรือฉีกขาดเป็นแผลผ่าตัดชนิดปิด
เป็นแผลที่ไม่มีการติดเชื้อ
Class IV: Dirty/Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
แผลเก่า (old traumatic wound) แผลมีเนื้อตาย (gangrene)แผลมีการติดเชื้อมําก่อน แผลกระดูกหักเกิน 6 ชั่วโมง
ผลไส้ติ่งแตก (Ruptured appendicitis) เยื่อหุ้มช่องท้องอักเสบ (Peritonitis)
แบ่งตํามระยะเวลํากํารเกิด
แผลเรื้อรัง(chronic wound) เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานาน และรักษายากหรือรักษาเป็นเวลานาน อําจมีอาการแทรกซ้อนตามมาภายหลัง เช่น แผลเบาหวานเป็นต้น
แผลเนื้อตาย(gangrene wound)เป็นแผลที่เกิดจากการขาดเลี้ยงไปเลี้ยงหรือเลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ ส่าเหตุจากหลอดเลือดตีบแข็ง เช่นแผลเบาหวานที่มีลักษณะสีดำและมีกลิ่นเหม็น เป็นต้น
แผลที่เกิดเฉียบพลัน(acute wound) เป็นกํารเกิดแผล และรักษาให้หายในระยะเวลาอันสั้น หรือการหายของแผลเป็นไปตามขั้นตอนการหายของบําดแผล เช่น แผลจากการผ่าตัดเป็นต้น
แบ่งตามลักษณะ
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกัน อาจเกิดกํารติดกันเอง
การเย็บด้วยวัสดุเย็บแผล ไม่มีสํารคัดหลั่ง เช่น แผลผ่ําตัดเย็บปิด
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)
ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน
ขอบแผลกว้าง มีสารคัดหลั่ง เช่น แผลผ่าตัดยังไม่เย็บปิด (delayedsuture)
แบ่งตามการรักษา
2.การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ(Negative Pressure Wound Therapy: NPWT)เป็นการรักษาแผลที่มีเนื้อตาย หรือแผลเรื้อรังโดยกํารปิดแผลสุญญากาศมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น และมีกลไกการทำงาน
แผลท่อระบาย เป็นแผลผ่าตัดซึ่งศัลยแพทย์เจาะผิวหนังเพื่อใส่ท่อระบายของเสียจากการผ่าตัดเป็นท่อระบํายระบบปิด ได้แก่ tube drain, Jackson’ Patt drain, redivac drain, hemovac drain, nephrostomy tube drain ส่วนท่อระบายระบบเปิด ได้แก่ Penrose drain
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง(retention) ด้วยการดามกระดูกด้วยเหล็กหรือแผ่นเหล็กและตะปูเกลียว(plate and screw) หรือการใช้เครื่องตรึงกระดูกภายนอกร่างกาย (external fixator) จึงมีแผลที่รอยเจาะกระดูก และแผลที่ผิวหนัง
แผลท่อหลอดคอ (tracheostomy tube) เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ ทำการผ่าตัดเปิดหลอดลมเพื่อใส่ท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินหายใจ
แผลท่อระบายทรวงอก (chest drain) เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ทำการเจาะปอด เพื่อใส่ท่อระบายของเสียออกจากปอดในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอด เช่น ผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกในปอด (hemothorax)ผู้ป่วยที่มีภาวะลมรั่วในปอด (pneumothorax)
แผลทวารเทียมหน้าท้อง (colostomy) เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ทำผ่าตัดเปิดลำไส้ใหญ่ออกทํางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระในผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินอาหาร
แบ่งตามส่าเหตุ
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน เรียก traumatic wound เช่น แผลของอวัยวะภํายในช่องท้องถูกกระแทกจํากพวงมําลัยรถยนต์ขณะเกิดอุบัติเหตุ
แผลที่มีขอบแผลขาดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้ เรียก crush wound เช่น แผลถูกเครื่องบดนิ้วมือเป็นต้น
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากการตัดอวัยวะบํางส่วน เรียก stump wound เช่นแผลตัดเหนือเข่ํา(Above Knee : AK Amputation)
แผลที่เกิดจํากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stabwound หรือ peneturatingwound เช่นแผลถูกแทงด้วยมีด หรือแผลจํากกํารเหยียบตะปู เป็นต้น
แผลที่เกิดจากการกดทับ เรียก pressure sore, bedsore,decubitus ulcer, pressure injury
แผลที่เกิดจํากถูกของมีคมตัดเรียก cut woundเช่นแผลจํากโดนมีดฟัน หรือถูกเศษแก้วบําดเป็นต้น
แผลที่เกิดจํากกํารเปลี่ยนแปลงทํางกํายภําพและเคมี
จากสารเคมีที่เป็นกรด(acid burn)
จากถูกความเย็นจัด(frost bite)
จากสารเคมีที่เป็นด่ําง(alkaline burn)
จากไฟไหม้น้ำร้อนลวก (burn and scald)
จากไฟฟ้ําช็อต (electrical burn)
จากรังสี(radiation burn)
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด เรียกsurgical wound , sterile wound หรือincision wound
แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง(skin graft)หมํายถึง แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนังซึ่งจะทำให้เกิดแผล 2 ต่ำแหน่ง
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
น้ำนร่างกาย (body fluid) ผู้ป่วยอ้วนการหายของแผลค่อนข้างช้า
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies) กรณีมีแผลของอวัยวะส่วนปลาย (lower extremities) โดยเฉพําะแผลเบําหวําน แผลกดทับ จะทำให้บาดแผลหายช้ากว่าที่ควรจะเป็น
โรคเรื้อรัง(chronic disease) โรคที่มีผลกระทบต่อการหายของแผล
กาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา(immunosuppression and radiation therapy)การกดภูมิคุ้มกันอันเนื่องมาจากโรคหรือยาส่งผลทำให้แผลหายช้า และการรักษาด้วยรังสีรักษาอาจเป็น
สาเหตุทำให้เกิดแผล
อายุ (age)คนที่มีอายุน้อยบาดแผลจะหายได้เร็วกว่าคนที่มี
อายุมาก
ภาวะโภชนาการ (nutritional status)สารอาหารที่จำเป็นต่อการหายของแผล คือโปรตีน,อัลบูมิน,คาร์โบไฮเดรต,
ไขมัน,วิตามินเอ, ซี, เค, บี6, บี2,บี1,ทองแดง(Cu), เหล็ก(Fe)และสังกะสี(Zn)
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment) การหายของแผลและมีความเจ็บปวดน้อยในภาวะแวดล้อมชุ่มชื้นหายเร็ว3-5 เท่าในภาวะแวดล้อมแห้งกว่า
การได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)การได้รับอันตรายทำให้เนื้อเยื่อเกิดอาการบวม (edema) อาการบวมส่งผลกระทบต่อกํารขนส่งออกซิเจน
แรงกด (pressure)การนอนในท่าเดียวนานๆ ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวกเลือดไปเลี้ยงบาดแผลน้อยลงเกิดเป็นรอยแดง
การติดเชื้อ (infection) ทำให้แผลหายช้า ในกรณีที่ทีการติดเชื้อจึงต้องเก็บสิ่งตัวอย่ํางส่งตรวจ (specimen)
ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
ความไม่สุขสบาย (incontinence) การปัสสาวะและอุจจาระกะปิดกะปอยทำให้ผิวหนังเปียกแฉะทำให้แผลสกปรกตลอดเวลา
ลักษณะและกระบวนการหายของแผลลักษณะการหายของแผล(Type ofwound healing)
ลักษณะการหายของแผล(Type ofwound healing)
แบ่งขั้นตอนกํารหํายของแผลเป็น 3 ระยะ
ระยะ2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
ระยะ3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
ระยะ1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
การบันทึกลักษณะบาดแผล
4.สี เช่น แดง (readiness) เหลือง (yellow) ด ํา (black) หรือปนกัน
5.ลักษณะผิวหนัง เช่น ผื่น (rash) เปียกแฉะ (Incontinence) ตุ่มน้ำพองใส (bruises)
3.ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
6.ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล เช่น แผลกดทับขั้น 4(4thstage)
2.ต่ำแหน่ง/บริเวณ เช่น ต่ำแหน่ง RLQ
7.สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง (discharge)เช่น หนอง (pus) สํารคัดหลั่งเหนียวคลุมแผล(slough)
ชนิดของบาดแผล เช่น แผลผ่าตัด(incision wound)เย็บกี่เข็ม (stitches)
แบ่งตามลักษณะของบาดแผลเป็น 3 ลักษณะ
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ(Secondaryintentionhealing)
การหายของแผลแบบตติยภูมิ(Tertiaryintentionhealing)
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ(Primaryintentionhealing)
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วิธีการเย็บแผล
Continuous methodเป็นวิธีการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
Interrupted methodเป็นวิธีการเย็บแผลที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
3.Subcuticular methodเป็นกํารเย็บแผลแบบ continuous methodแต่ใช้เข็มตรงในกํารเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง เหมาะสำหรับการเย็บด้านศัลยกรรมตกแต่งเพื่อควํามสวยงาม
Retention method (Tension method)เป็นวิธีการเย็บรั้งแผลเข้าหากัน เพื่อพยุงแผลในกรณีผู้ที่มีชั้นไขมันหน้าท้องหนําหรือแผลที่ตึงมําก และแผลที่ต้องการทำsecondary
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable sutures)
เส้นใยธรรมชาติ
catgut ทำมาจาก collagen ใน submucosa ของลำไส้แกะหรือวัว
เส้นใยสังเคราะห์
polyglycolic acid (dexon), polyglycan (vicryl)
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Non-absorbable sutures)
เส้นใยสังเคราะห์
nylon เส้นเหล่ํานี้มีความแข็งแรงมากกว่ําไหมเย็บแผล แต่ผูกปมยากและคลายได้ง่าย
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
ลวดเย็บ (staples) เป็นวัสดุเย็บแผลสำเร็จรูป แต่ต้องมีเครื่องมือสำหรับใส่ลวดเย็บ
เส้นใยตามธรรมชาติ
ไหมเย็บแผล(silk) ราคาถูก ผูกปมง่าย และไม่คลายง่าย ไหมเย็บมีหลายขนาด
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆและการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
หยิบสำลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ แผลวนจากในออกนอกห่างแผล 1นิ้วเป็นบริเวณกว้าง 2 นิ้ว
หยิบสำลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจากบนลงล่างจนแผลสะอาดแล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
หยิบtooth forceps ใช้รับของsterile ทำหน้าที่เป็นdressing forceps
ทําแผลด้วย antiseptic solutionตามแผนการรักษา (ถ้ํามี)
หยิบnon-tooth forceps ใช้คีบส่งของsterile ทำหน้าที่เป็น transfer forceps
ปิดแผลด้วยgauze ติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของ ลำตัวโดยเริ่มติดชิ้นแรกตรงกึ่งกลางของแผลและไล่ขึ้น-ลงตามลำดับ ส่วนหัวและท้ายต้องปิดทับผ้าgauzeกับผิวหนังให้สนิท
2.เปิดชุดทำแผล (ตามหลักการของ IC) หยิบforceps ตัวแรกโดยใช้มือจับด้านนอกของผ้าห่อชุดทำแผล หยิบขึ้นแล้วใช้ forcepsตัวแรกหยิบforceps ตัวที่สอง วาง forceps ไว้ด้านข้างถาดของชุดทำแผล
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอดmask และล้างมือ ทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
เปิดแผลโดยใช้มือ(ใส่ถุงมือ) หยิบผ้ําปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้านในทิ้งลงชามรูปไตหรือถุงพลาสติก เป็นต้น
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอําด
ใช้ผ้าgauze ชุบน้ำยา(solution) ใส่ในแผล(packing)เพื่อฆ่าเชื้อและดูดซับสารคัดหลั่งให้ความชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ
ทำความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับการทำ dry dressing
ปิดแผลด้วยผ้าgauzeและปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวํางของลำตัว
1.เปิดแผลโดยใช้มือ(ใส่ถุงมือ) เปิดชุดทำแผลตามหลัก IC หยิบผ้าปิดแผลส่วนบนทิ้งลงในชามรูปไตหรือถุงพลาสติกเปิดผ้าปิดแผลชั้นที่ติดกับแผลด้วยtooth forceps
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
ใช้สำลีชุบalcohol70% เช็ดท่อระบายจากเหนือแผลออกมาด้านปลายท่อระบาย เช็ดด้วยสำลีแห้ง
กรณี Penrose drain และแพทย์มีแผนการรักษาให้ตัดท่อยางให้สั้น (short drain) หยิบgauze 1ผืน เพื่อจับเข็มกลัดซ่อนปลาย ใช้ forceps บีบเข็มกลัดให้อ้าออก
ใช้สำลีชุบ NSS เช็ดตรงกลํางแผลท่อระบาย แล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
พับครึ่งผ้ําgauzeวางสองข้างของท่อระบายแล้ววางผ้า gauzeปิดทับท่อระบ่ายอีกชั้น และปิดพลาสเตอร์ให้เรียบร้อย
. ใช้non-tooth forceps (ทำหน้าที่เป็น transfer forceps)หยิบสำลีชุบalcohol70% ส่งต่อให้ tooth forceps
หลังการทำแผลเสร็จแล้วจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย และดูแลสภาพแวดล้อม พยาบาลต้องให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
ระวังไม่ให้แผลถูกน้ำ หรือเปียกชื้น หากแผลชุ่มมํากควรแจ้งเจ้ําหน้าที่พยาบาล
รับประทํานอําหารให้ครบ5 หมู่และน้ำวันละ 2,000 มิลิลิตร เสริมโปรตีนวิตามิน และเกลือแร่ เพื่อสร้างเนื้อเยื่อและเสริมควํามแข็งแรงให้กับแผล
หากเกิดอาการคันหรือแพ้พลาสเตอร์ ควรแจ้งให้ พยาบาลทราบ ไม่ควรแคะแกะหรือเกําเพราะจะทำให้ผิวหนังรอบแผลช้ำถลอกเกิดการอักเสบติดเชื้อ ลุกลามขยายเป็นแผลกว้างได้
การเตรียมเครื่องใช้ในการทำแผล เช่นเดียวกับการทำแผลแบบแห้ง สำหรับ Penrose drain นั้นโดยปกติแพทย์จะมีแผนการรักษาให้ตัดท่อยางให้สั้นลง(short drain) ทุกวัน
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ
วัสดุสำหรับปิดแผล
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
การตัดไหม (Sutureremoval)
หลักการตัดไหม
เศษไหมที่เย็บแผลส่วนที่มองเห็นเป็นส่วนที่มีกํารสัมผัสเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ตามผิวหนังในการตัดและดึงไหมออกจึงไม่ควรดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง และจะต้องดึงไหมออกให้หมด เพรําะถ้าไหมตกค้างอยู่ใต้ผิวหนัง จะกลายเป็นสิ่งแปลกปลอมและเกิดการอักเสบติดเชื้อได้
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำ และปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน (sterile strip)
1.ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอัน (total stitches off) หรือตัดอันเว้นอัน (partial stitches off)
วิธีทำการตัดไหม
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted mattress โดยใช้ไหมผูกปมเป็นอัน ๆ ชนิดสองชั้น ให้ตัดไหมส่วนที่มองเห็นและอยู่ชิดผิวหนังมากที่สุด ซึ่งอยู่ด้านตรงกันข้ามกับปมไหมให้ตัดไหมด้วยวิธีเดียวกับกํารเย็บแผลแบบinterrupted method
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method ให้ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้านตรงกันข้ํามกับปมที่ผูกอันแรกและอันถัดไปด้านเดิม เมื่อดึงไหมออกส่วนที่เป็นปมผูกไว้อันแรก และส่วนที่อยู่ชิดผิวหนัง ซึ่งติดกับไหมที่เย็บอันที่สองจะหลุดออก ส่วนไหมปมอันถัดไปให้ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้ํานเดิม ท ําเช่นนี้จนถึงปมไหมอันสุดท้ําย
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิดinterrupted method โดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ โดยใช้tooth forceps จับชายไหมส่วนที่อยู่เหนือปมที่ผูกไว้ ดึงขึ้นพอตึงมือจะเห็นไหมใต้ปมโผล่พ้นผิวหนังขึ้นมาและสอดปลายกรรไกรตัดไหมในแนวรําบขนาดกับผิวหนังเล็กตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังซึ่งอยู่ใต้ปมที่ผูกแล้วดึงไหมในลักษณะดึงเข้าหาแผลเพื่อป้องกันแผลแยก
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทำควํามสะอาดแผลผ่าตัดตามปกติ การตัดลวดเย็บแผลต้องใช้เครื่องมือตัด เรียกว่า “removal staple” (ดังรูปที่ 7)โดยอ้าส่วนปลายซึ่งมีลักษณะคล้ายคีมสอดใต้ลวดเย็บกดด้านมือจับให้ส่วนปลํายกดวลดเย็บงอแล้วดึงลวดออกทีละเข็มจนครบ
ทำความสะอาดแผลใช้alcohol 70% เช็ดรอบแผล เช็ดรอยพลาสเตอร์ออกด้วยเบนซิน และเช็ดตามด้วยalcohol 70% และน้ำเกลือล้างแผลแล้วเช็ดแห้งก่อนทำการลงมือตัดไหม หยิบผ้า gauze วํางเหนือแผล เมื่อตัดไหมทีละเข็มให้วํางวัสดุเย็บแผลลงบน ผ้า gauze เพื่อนับจำนวนเข็ม
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้ว เช็ดแผลด้วย normal saline 0.9% และเช็ดให้แห้งอีกครั้ง ปิดแผลต่อไว้อีก 1 วัน (ถ้ําแผลแห้งดี)ถ้าแผลยังติดไม่ดีแพทย์อาจติด sterile strip แล้วจึงปิดด้วยผ้า gauze และปิดพลาสเตอร์อีกครั้ง
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
หลักการพันแผล
การพันผ้าใกล้ข้อ ต้องพันผ้า โดยคำนึงถึงการขยับเคลื่อนไหวของข้อนั้นด้วย
ต้องทำความสะอาดบาดแผลและปิดผ้าปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน แล้วจึงพันผ้าปิดทับต้องระวังหากพันแน่นเกินไปผู้ป่วยอาจเจ็บแผล
การลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้าพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมาะสม ถ้าลงน้ำหนักมือมากอาจทำให้แน่นเกินไป
ตำแหน่งที่บาดเจ็บ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า ต้องใช้ผ้าก๊อสคั่นระหว่างนิ้วก่อนป้องกันการเสียดสีของผิวหนังอาจทำให้เกิดแผลระหว่างนิ้วได้
ตำแหน่งที่ต้องการจะพันผ้าผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอาดและแห้ง
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนนั้นไว้ เพื่อช่วยให้ผู้พันผ้าสะดวกและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการพันผ้าในตำแหน่งนั้น ๆ
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้ําเข้ากัน จัดท่าให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่าที่สบายวํางอวัยวะส่วนที่จะพันผ้าให้รู้สึกผ่อนคลาย
วิธีการพันแผล
การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน มีหลักการพันผ้า ได้แก่ เริ่มต้นพันผ้าจากส่วนเล็กไปหาส่วนใหญ่ พันผ้าเข้าหาตัวผู้ป่วย
การใช้ผ้าสามเหลี่ยม ผ้าสามเหลี่ยมเป็นสามเหลี่ยมที่มีมุมยอดเป็นมุมฉาก ขนาดของผ้าที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนําดของตัวผู้ป่วยและอวัยวะที่ต้องการพันผ้า
ชนิดของผ้าพันแผล
2.ผ้าพันแผลชนิดม้วน(roller bandage)
เป็นม้วนกลมชนิดที่ไม่ยืด (roll gauze) และชนิดยืด (elastic bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage)
เป็นผ้าที่มีรูปร่างแตกต่างกันไป เช่นผ้าพันท้องหลายหาง ปัจจุบันมีวัสดุการแพทย์ที่ทันสมัยมาใช้แทน เช่น abdominal support เป็นวัสดุการแพทย์สำเร็จรูปมีหลายขนาดเลือกใช้สำหรับพยุงอวัยวะภายในช่องท้องหลั่งการผ่าตัด
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage)
เป็นผ้าสามเหลี่ยมทำด้วยผ้าเนื้อละเอียดไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกฉีกขาดเป็นแผลตื้น มีรอยแดงบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆ และเริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผล
ระดับที่3แผลลึกถึงชั้นไขมัน(subcutaneous)แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ (muscle) มีรอยแผลลึก มีสิ่งขับหลั่งจากแผล เริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย (necrosis tissue)
ระดับที่1 ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังและไม่จางหายไปภายใน 30 นาที
ระดับที่ 4แผลลึกเป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีกล้ามเนื้อ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
2.ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงเสียดทาน เกิดระหว่างผิวหนังชั้นนอกกับพื้นผิวสัมผัส เช่นเสื้อผ้ํา ผ้ําปูที่นอน โดยเฉพําะกํารดึง กํารลํากผู้ป่วยขณะพลิกตะแคงตัว การเคลื่อนย้ายโดยไม่ใช้เครื่องช่วยที่เหมาะสม
แรงเฉือน (หมายถึงแรงกระทำในทิศทางตั้งฉากกับงาน) เป็นแรงดึงรั้งระหว่างชั้นผิวหนังเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลกและแรงต้านที่ทำให้ผิวหนังอยู่กับที่
แรงกด เป็นแรงที่กดบริเวณลงระหว่างผิวหนังผู้ป่วยกับพื้นรองรับน้ำหนักเป็นสาเหตุสำคัญที่สุดของการเกิดแผลกดทั
ความชื้น เกิดจากสารคัดหลั่งของร่างกายผู้ป่วยเองจะทำให้ความต้านทานต่อแรงกดลดลงจะเกิดแผลกดทับได้ง่ํ่าย
ปัจจัยภายในร่างกาย
ภาวะโภชนาการ ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอ จนกระทั่งทำให้ระดับalbuminในเลือดน้อยกว่า 3.5 mg % จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับได้
ยาที่ได้รับการักษา ได้แก่ ยาขับปัสสาวะ ยาระบาย(ทำให้เกิดการเปียกชื้นของผิวหนัง)ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาระงับประสาท ยาระงับอาการชัก ยาแก้ปวด
อายุ ผู้ป่วยที่เกิดแผลกดทับ ร้อยละ 70 เป็นผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปผลของความชราทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของชั้นผิวหนังชั้น epidermisจะบางลง
การผ่าตัด ผู้ป่วยที่ใช้เวลาในการนานกว่า 3 ชั่วโมง จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับซึ่งจากสาเหตุของการจำกัดการเคลื่อนไหวระหว่างตัดและการดมยาสลบ
บริเวณที่อาจเกิดแผลกดทับได้ง่ายในท่าทางต่าง ๆ คือ
ท่านอนคว่ำบริเวณที่เกิดคือ ใบหูและแก้มหน้าอกและใต้ราวนม หน้าท้อง หัวไหล่ สันกระดูกตะโพก หัวเข่าปลายเท้ํา
ท่านอนตะแคง บริเวณที่เกิดคือ ศีรษะด้านข้าง หัวไหล่ กระดูกก้น ปุ่มกระดูกต้นขาฝีเย็บ หัวเข่าด้ํานหน้า ตาตุ่ม
ท่านอนหงาย บริเวณที่เกิดคือ ท้ายทอย ใบหูหลังส่วนบน ก้นกบ ข้อศอก ส้นเท้ํา
ท่านั่ง บริเวณที่เกิดคือ ก้นกบปุ่มกระดูกก้น หัวเข่าด้ํานหนัง กระดูกสะบัก เท้า ข้อเท้าด้านนอก
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
2.การเฝ้ําระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมของแผลให้เป็นไปตามกระบวนการหายของแผลผ่าตัด
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อและอุณหภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผู้ป่วยปลอดภัยตํมหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
การหายของแผลเป็นไปตามกระบวนการหายของแผล (stage of wound healing)
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic nursing care)
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านร่างกาย
ด้านจิตวิญญาณ