Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยกำหนดอุปทานต่อการบริการทางสุขภาพ, นางสาวพิชชาพร ปรวกพรมมา 60051563 -…
ปัจจัยกำหนดอุปทานต่อการบริการทางสุขภาพ
อุปทานของบริการสุขภาพ
เป็นการตอบสนองที่ปรับตัวอย่างมีลำดับที่สลับซับซ้อนต่อความไม่แน่นอน
“เมื่อราคาของบริการสุขภาพสูงขึ้นผู้ผลิตก็จะผลิตบริการสุขภาพ
ออกมาจำหน่ายมากขึ้นหรือราคาที่ลดลงทำให้อุปทานน้อยลง”
ความก้าวหน้าและความชำนาญเฉพาะด้านของการแพทย์
ทำให้ผู้ผลิตขายบริการสุขภาพที่มีความเฉพาะเจาะจง
สอดคล้องกับลักษณะของผู้ซื้อบริการสุขภาพ (Customized)
เส้นอุปทานต่อบริการสุขภาพจึงค่อนข้างชันและมีความยืดหยุ่นน้อย
การผลิตมีความหลากหลายและแตกต่างกันไปตามการวินิจฉัยของแพทย์
Kessel
ระบบนี้ถือว่าการลดราคาบริการสุขภาพเป็นสิ่งที่ไร้จรรยาบรรณ
“ผู้ผลิตบริการสุขภาพสามารถใช้อำนาจผูกขาดของตนเอง
ทำการแยกราคาโดยเรียกเก็บค่าบริการตามความสามารถ
ที่ผู้รับบริการจะจ่ายได้ซึ่งทำให้ผู้ผลิตมีกำไรเพิ่มขึ้น”
กระบวนการผลิตที่ต้องมีผู้ป่วยเข้ามาร่วมด้วย
Folland และคณะ
การใช้อำนาจผูกขาดของผู้ผลิตแบ่งแยกราคาขายและทำให้ผู้ผลิต
ได้กำไรเกินกว่าในกรณีของการแข่งขันสมบูรณ์ระหว่างผู้ผลิต
Fuchs
ได้อำนาจผูกขาดจากการจำกัดการเข้ามาสู่อาชีพนี้
และการสร้างอุปสรรคในการแข่งขันกันโดยการขายบริการสุขภาพ
McGuire และคณะ
การรับผิดชอบในฟังก์ชันอรรถประโยชน์ของผู้บริโภค
การรับผิดชอบต่อความไม่แน่นอนและความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
ความไม่แน่นอนทำให้ไม่สามารถผลิตสำรองไว้ในคลังสินค้า
การควบคุมอุปทาน
ของบริการสุขภาพ
เหตผุลของการควบคุม
อุปทานขอบริการสุขภาพ
ผู้บริโภคไม่มีข้อมูลสารสนเทศ
และความไม่สมบูรณ์ของโครงการประกันสุขภาพ
อดีตอำนาจผูกขาดของผู้ผลิต
ทำให้เกิดกำไรเกินปกติสูง
ตัวอย่างการตั้งราคา
ของบริการสุขภาพ
ตั้งราคาเป็นไปตามหลักการคุ้มทุน ยอมให้มีการลดหย่อน
หรือยกเลิกการเก็บค่ารักษาพยาบาลกับผู้ป่วยบางกลุ่ม
การกำหนดอัตราค่าบริการไม่มีการใช้ข้อมูลต้นทุน
ตั้งราคาไม่ได้ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ทางเศรษฐกิจ
ราคาก็เป็นไปตามดุลยพินิจของผู้ที่เกี่ยวข้อง
“จรรยาบรรณทางการแพทย์
เป็นหลักประกันที่ว่าแพทย์จะ
ต้องทำดีที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละคน”
การควบคุมอุปทาน
ของบริการสุขภาพ
ที่ใช้ในประเทศสหรัฐฯ
การควบคุมปริมาณของบริการโรงพยาบาล
เชื่อกันว่าจะเป็นปัจจัยในการป้องกัน
มิให้โรงพยาบาลให้บริการสุขภาพเกินความจำเป็น
การควบคุมศักยภาพของโรงพยาบาล
การควบคุมค่าบริการของโรงพยาบาล
กฎหมายป้องกันการผูกขาด (Antitrust Laws)
แนวคิดอุปทาน
กฎอปุทานของสินค้า
จะใช้ได้ดีถ้ามีการสมมติให้ปัจจัยอื่นๆ
นอกจากราคาและปริมาณของสินค้าคงที่
เส้นอุปทานของสินค้า
โค้งจากล่างซ้ายไปบนขวา
อุปทานส่วนบุคคล
ปริมาณสินค้าที่ผู้ขายแต่ละคนนำออกขายในตลาด
ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่งในเวลาที่กำหนด
อุปทานตลาด
ปริมาณทั้งหมดของสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ขายทุกคน
นำออกเสนอขายในตลาด ณ ระดับราคาต่างๆ กันในระยะเวลาที่กำหนด
อุปทานของสินค้า
แปรผันโดยตรงกับราคา
ปริมาณของสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตยินดี
และนำออกขายในตลาดตามราคาและเวลาที่กำหนด
ปัจจัยกำหนดอุปทาน
กรรมวิธีในการผลิต
ราคาปัจจัยการผลิต
ราคาสินค้าอื่นๆ
จำนวนผู้ขาย
ราคา
ภาษีและเงินช่วยเหลือ
การเปลี่ยนแปลง
ของอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า
การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นนอกจากราคา
ปัจจัยที่ทำให้
อุปทานมากหรือน้อย
เวลาที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการผลิต
ระดับการทดแทนระหว่างปัจจัยการผลิต
ความยืดหยุ่น
ของอุปทาน
สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของ
ปริมาณเสนอขายสินค้ากับการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า
ประโยชน์ของ
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
การเก็บภาษี (Tax)
การให้เงินสนับสนุน (Subsidy)
เพิ่มหรือลดการผลิต/เสนอขายสินค้า
อุปทานส่วนขาด
vs อุปทานส่วนเกิน
อุปทานส่วนขาด
สินค้าขาดตลาด
อุปทานส่วนเกิน
สินค้าล้นตลาด
แนวคิดอุปทาน
ต่อบริการสุขภาพ
อุปทานของบริการสุขภาพ ≠ อุปทานของปัจจัยการผลิตบริการสุขภาพ
ลักษณะที่แตกต่างทำให้การผลิตอยู่ภายใต้การผูกขาดของผู้ผลิต
ต่างไปจากอุปทาน
ของสินค้าบริการทั่วไป
การผลิตบริการสุขภาพไม่อาจเก็บสะสมหรือสำรองไว้ได้
การผลิตและจำหน่ายต้องมีผู้ซื้อบริการสุขภาพอยู่ด้วย
รัฐบาลจึงมักเข้ามาแทรกแซงและควบคุมผู้ผลิตที่อำนาจเหนือตลาด
เหมือนกันอุปทาน
ของสินค้าบริการทั่วไป
คำนึงถึงกระบวนการผลิตต้นทุนการผลิต
ราคาที่ได้รับจากสินค้าบริการที่ผลิตออกมาขายในตลาด
การควบคุมผู้ผลิตบริการสุขภาพกันเองโดยใช้จริยธรรม (Ethics) และจรรยาบรรณวิชาชีพ
นางสาวพิชชาพร ปรวกพรมมา 60051563