Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขระดับมหภาค, นางสาวพิชชาพร ปรวกพรมมา 60051563 - Coggle…
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขระดับมหภาค
ผลกระทบของวิกฤติ
เศรษฐกิจต่อบริการสุขภาพ
ปัญหาพื้นฐาน
ทางเศรษฐกิจ
ความจำกัดของทรัพยากรที่ไม่สามารถ
ตอบสนองความต้องการที่มีอยู่ไม่จำกัด
ประเภทของ
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)
ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับ (Commanded Economy)
ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (Free-market Economy)
ระบบเศรษฐกิจ
(Economic system)
การจัดระเบียบโครงสร้างและบทบาท
ขององค์กรเพื่อบรรลุถึงเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจไทยใน
ไตรมาสที่สองของปี 2562
การผลิตสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร
และสาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า
ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า
การผลิตสาขาเกษตรกรรม
และอุตสาหกรรมปรับตัวลดลง
การส่งออกสินค้า
ปรับตัวลดลงในด้านการผลิต
นโยบายการเงินและ
การคลังกับบริการสุขภาพ
การจัดการคลังด้านสุขภาพ
และสาธารณสุข
ระบบประกันสังคม
ระบบสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของ
ข้าราชการ พนักงาน รัฐวิสาหกิจและครอบครัว
ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2545
ประกันสุขภาพเอกชน
แหล่งการคลังด้านสุขภาพและสาธารณสุข
สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันสุขภาพเอกชน
สำนักงานหลักประกันสขุภาพแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนเงินทดแทน
องค์กรอิสระภาครัฐ
นายจ้าง
รัฐวิสาหกิจ
ครัวเรือน
กระทรวงการคลัง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บริษัทประกันภัยตาม พ.ร.บ.
คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถยนต์
กระทรวงอื่นๆ
กระทรวงสาธารณสุข
องค์กรไม่แสวงหากำไร
ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ (Rest of the world)
ความยั่งยืนของ
ระบบประกันสุขภาพ
ความสำเร็จของระบบหลักประกันสุขภาพ
ของประเทศไทยทำให้รัฐบาลต้องลงทุน
ด้วยงบประมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
จากร้อยละ 3.7 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
ในปี พ .ศ.2555 เป็นร้อยละ 5 ในปี พ.ศ.2563
การคลังด้านสาธารณสุข
ระบบการเงินการคลังที่สามารถทำให้เกิดระบบบริการที่ดี
ในทุกขั้นตอนและประชาชนสามารถเข้าถึงบริการอย่างเป็นธรรม
การคลังด้านสุขภาพ
การจัดการการเงินเพื่อให้เกิด
สุขภาพที่ดีของประชาชน
ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ
มูลค่าที่ระบบเศรษฐกิจทั้งหมดของประเทศสร้างขึ้นมาได้
มูลค่าตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศ
ในช่วงเวลาหนึ่ง โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วย
ทรัพยากรของชาติใด
มูลค่าของ GDP
ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก
การใช้จ่ายของภาครัฐ
มูลค่าส่งออกสุทธิ
การลงทุน
การจับจ่ายใช้สอยของ
ผู้บริโภคในชีวิตประจำวัน
การวัดผลิตภัณฑ์
มวลรวมในประเทศ
การวัดรายจ่าย (Expenditure Approach)
การวัดรายได้ (Resource Cost - Income Approach)
การคำนวณผลิตภัณฑ์
มวลรวมประชาชาติ
การคำนวณทางด้านผลผลิต
การคำนวณทางด้านรายได้
การคำนวณทางด้านรายจ่าย
รายได้ประชาชาติ
กับบริการทางสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ
ระบบเปิดที่มีผลกระทบจากปัจเจกบุคคล
และสภาพแวดล้อมโดยมีเป้าหมายอยู่ที่
สุขภาพอนามัยที่ดีของประชาชน
กลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์และ
ดำเนินการร่วมกันในการจัดบริการสาธารณสุข
ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเป็นการแก้ปัญหาและ
สนองความต้องการด้านสุขภาพของประชาชน
รายได้ประชาชาติ
หมายถึง รายได้ที่ประชากรของประเทศ
ได้รับจากการผลิตสินค้าและบริการ
ในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งตามปกติ
กำหนดไว้ที่ 1 ปี
ประเภทของรายได้
ประชาชาติ
ผลิตภัณฑ์ในประเทศสุทธิ : NDP (Net Domestic Product)
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ : NNP (Net National Product)
รายได้ประชาชาติ : NI (National income)
รายได้ส่วนบุคคล : PI (Personal income)
รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ : DPI (Disposable Personal income)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ :GNP (Gross National Product)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ : GDP (Gross Domestic Product)
ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้
ประชาชาติประเภทต่างๆ
NNP = GNP – ค่าใช้จ่ายกินทุน
NI = NNP – ภาษีทางอ้อมสุทธิ
NDP = GDP – ค่าใช้จ่ายกินทุน
PI = NI - กำไรที่ยังไม่ได้จัดสรรของกิจการ - ภาษีเงินได้นิติบุคคล – เงินโอน
GNP = GDP + รายได้ปัจจัยการผลิตสุทธิจากต่างประเทศ
DPI = PI - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
บัญชีรายได้
ประชาชาติ
จัดทำโดยอาศัยพื้นฐานการพิจารณา
กระแสการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจที่สำคัญ
แต่ละประเทศจะมีความคล้ายคลึงกัน
เนื่องจากได้ยึดเอาแม่แบบมาจากระบบบัญชี
ประชาชาติของสหประชาชาติเป็นหลัก
เป้าหมายทางเศรษฐกิจ
ระดับมหภาค
เสถียรภาพ
ทางด้านราคา
ดูอัตราเงินเฟ้อ
การกระจาย
รายได้ที่เป็นธรรม
ดูสัดส่วนของรายได้ของ
คนรวยสุดต่อรายได้ของคนจนสุด
การจ้างงานเต็มที่
ดูอัตราการว่างงาน
เสถียรภาพ
ภายนอก
ดู ดุลการค้า ดุลการชำระเงิน
อัตราแลกเปลี่ยน
ความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ
ดู GDP Growth
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปร
เศรษฐกิจมหภาค
ตัวแปรนโยบาย
ตัวแปรภายนอก
ศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์
ทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวม (Aggregate)
ลักษณะเศรษฐกิจ
ที่พึงปรารถนา
มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
อย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ
อัตราแลกเปลี่ยนที่ไม่ผันผวนมาก
และเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ
อัตราการว่างงานต่ำ
อัตราเงินเฟ้อต่ำ
นางสาวพิชชาพร ปรวกพรมมา 60051563