Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 จิตวิญญาณความเป็นครู - Coggle Diagram
บทที่ 7 จิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณครู
การรักษาความจริงใจทั้งต่อตัวเองและผู้อื่น
การกำจัดจิตใจที่ต่ำทราม
การไม่ประมาท มีสติปัญญา ความรู้ ความฉลาด ความสามารถทั้งของตนเองและผู้อื่น
การรู้จักสงบใจ
การสร้างศรัทธาความเชื่อถือในงานที่กระทำ
ความหมายของจิตวิญญาณ
จุมพล พูลภัทรชีวิน
จิตวิญญาณเชื่อมโยงสัมพันธ์กับโลกกับจักรวาล และกับสรรพสิ่ง แยกกันไม่ออกเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน
. วิญญาณเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับปัญญา ไม่เกี่ยวกับหรือไม่ใช่ปัญญาและก็เหนือปัญญา
จิตวิญญาณเป็นเรื่องภายนอก เกี่ยวข้องเชื่อมโยงหรือสัมพันธ์กับสังคมกับวัฒนธรรมหรือพูดในระดับที่ไกล หรือเหนือออกไปอีก
วิญญาณเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา ไม่เกี่ยวกับศาสนาและก็เหนือศาสนา
จิตวิญญาณเป็นเรื่องภายในและเป็นเรื่องส่วนบุคคล ต้องปฏิบัติเองจึงจะรู้ จึงจะเข้าใจ
จิตวิญญาณครู
จิตสำนึก ความคิด ทัศนคติ พฤติกรรมการแสดงออกที่ดี ลุ่มลึกสงบเย็นเป็นประโยชน์ตามกรอบของจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยม จารีตประเพณี วัฒนธรรม และความคาดหวังของสังคม
จิตวิญญาณของความเป็นครู
เป็นบทบาทในการหล่อหลอมให้ศิษย์เป็นคนดีด้วยครูเป็นผู้สั่งสอนศิษย์ ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์
ความสำคัญของจิตวิญญาณของความเป็นครู
หลากหลายความสามารถ (versatile)
กระตือรือร้นอยู่เสมอ ( Energetic)
มุ่งเน้นความอดทน ( Endurance)
รักงานที่ทำ ( Love)
ไม่หยุดยั้งการพัฒนา (Development )
จัดการเป็นเลิศ (organizing)
คิดเชิงบวก (Positive Thinking)
การพัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครู
ช่วงการเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
ช่วงการคงอยู่ของการเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
ความภาคภูมิใจ
ความผูกพันระหว่างครูกับศิษย์
ความสุข
ศรัทธาต่อบุคคลผู้ทรงคุณค่าของแผ่นดิน
ช่วงการพัฒนาสู่การเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
แนวการเสริมสร้างศักยภาพให้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู
เคารพต่อตนเองและผู้อื่น เชื่อมั่นในสิ่งที่ทำมองเห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ใช้ชีวิตอยู่ทั่วจักรวาล
ยึดหลักศาสนธรรม ทั้งนี้เพราะศาสนธรรมเป็นหลักพื้นฐานในการดำรงชีวิตร่วมกับคนอื่น
ครึ่งหนึ่งของชีวิตอุทิศเพื่อสังคม
ความเจริญและความสมดุลด้านความเฉลียวฉลาดทางสติปัญญาและด้านความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์
ครูคือผู้สร้างค่านิยมกระแสสังคม