Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
แบ่งตํามลำดับความสะอาด
Class II: Clean-contaminated
Class III: Contaminated
Class I: Clean wound
Class IV: Dirty/Infected
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลเรื้อรัง(chronic wound)
แผลเนื้อตําย(gangrene wound)
แผลที่เกิดเฉียบพลัน(acute wound)
แบ่งตามลักษณะ
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)
ขอบแผลไม่ติดกัน หรือขอบแผลกว้ําง มีสํารคัดหลั่ง
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
มีขอบแผลติดกัน มีขอบแผลติดกัน
แบ่งตามการรักษา
Negative Pressure Wound Therapy: NPWT
ลดการบวมของแผล
เพิ่มปริมาณเลือดมาสู่แผล
กระตุ้นการงอกใหม่ของเซลล์
ลดแบคทีเรียในแผล
แผลท่อระบาย
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีกํารจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง(retention) ด้วยการดามกระดูกด้วยเหล็ก
tracheostomy tube
chest drain
colostomy
แบ่งตามสาเหตุ
stab wound
explosive wound
cut wound
crush wound
surgical wound
traumatic wound
gunshot wound
lacerated wound
abrasion wound
infected wound
stump wound
pressure sore
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
acid burn
frost bite
alkaline burn
electrical burn
burn and scald
radiation burn
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
Secondary intention healing
แผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน
Tertiary intention healing
ทำการรักษาโดยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด
และไม่มีอาการการแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว
Primary intention healing
ผิวหนังมีกํารสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอาด
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
แรงกด (pressure)
ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
การได้รับอันตรํายและอํากํารบวม (trauma and edema)
ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
slough มีลักษณะเปียก (moist)
eschar มีลักษณะหนา เหนียว (thick)
การติดเชื้อ (infection)
ความไม่สุขสบาย (incontinence)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
โรคเรื้อรัง(chronic disease)
น้ำในร่างกาย (body fluid)
อํายุ (age)
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies)
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา(immunosuppression and radiation therapy)
ภาวะโภชนาการ (nutritional status)
โปรตีน (protein)
การสร้างเสริมและการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ
คาร์โบไฮเดรตและไขมัน (carbohydrate and fat)
ช่วยในกํารเสริมสร้ํางพลังงํานให้เซลล์
เกลือแร่ (minerals)
มีความสำคัญต่อการทำหน้าที่ของ Collagen formation และ epithelialization
วิตามิน (vitamins)
น้ำ (fluid)
ช่วยในการคงสภําพที่ดีของการไหลเวียนเลือดและส่งเสริมสภาพที่ดีของผิวหนัง
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆและการตัดไหม
วัตถุประสงค์
ให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเนื้อเยื่อ
ดูดซึมสารคัดหลั่ง
จำกัดการเคลื่อนไหวของแผลให้อยู่นิ่ง
ให้ควํามชุ่มชื้นกับพื้นผิวของแผลอยู่เสมอ
ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง(Dry dressing)
ไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
ทำแผลที่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
เพื่อช่วยระบายสารคัดหลั่งและเลือดเก่าที่ค้างอยู่จากการผ่าตัดให้ไหลออกมาได้ดีขึ้น
กระบวนการหายของแผล(Stage of wound healing)
ระยะ2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
ระยะ3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
ระยะ1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
การบันทึกลักษณะบาดแผล
สี
ลักษณะผิวหนัง
ขนาด
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล
ตำแหน่ง/บริเวณ
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง (discharge)
ชนิดของบําดแผล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงเสียดทําน
แรงกด
ความชื้น
แรงเฉือน
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการักษา
การผ่าตัด
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่1 ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาด
ระดับที่ 3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน(subcutaneous)
ระดับที่ 4 แผลลึกเป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก
และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตาย
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ
มีหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรกํารประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ผู้ป่วยที่ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ผู้ป่วยที่มีไข้สูงมีเหงื่อออกมาก
ผู้ป่วยที่มีภาวะพร่องทางโภชนาการ
มีการผ่าตัดที่นานกว่า 3 ชั่วโมง
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
การดูแลและคำแนะนำเรื่องยาที่ใช้ในการรักษา
การดูแลและคำแนะนำสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้อุปกรณ์
การดูแลและคำแนะนำเรื่องอาหารและโภชนาการ
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
ให้การดูแลช่วยเหลือและคำแนะนำทั่วไป
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
วัตถุประสงค์
ช่วยพยุงผ้าปิดแผลให้อยู่กับที่
ให้ความอบอุ่นบริเวณนั้น ๆ
ใช้เป็นแรงกดป้องกันเลือดไหล
ช่วยให้อวัยวะอยู่คงที่ และพยุงอวัยวะไว้
ป้องกันการติดเชื้อ
รักษารูปร่างของอวัยวะให้พร้อมที่จะใส่อวัยวะเทียม
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage)
ผ้าพันแผลชนิดม้วน(roller bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage)
หลักการพันแผล
ต้องท ําควํามสะอําดบําดแผลและปิดผ้ําปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน
ต้องทำความสะอาดบาดแผลและปิดผ้าปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน
การลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้ํพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมาะสม
กํารพันผ้ําบริเวณเท้ํา ขํา ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนนั้นไว้
พันผ้าผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอาดและแห้ง
การพันผ้าใกล้ข้อ ต้องพันผ้า โดยคำนึงถึงการขยับเคลื่อนไหวของข้อนั้นด้วย
ผู้พันผ้าและผู้บําดเจ็บหันหน้าเข้าหากัน จัดท่าให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่าที่สบาย
วิธีการพันแผล
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบเกลียว (spiral turn)
การพันแบบเกลียวพับกลับ(spiral reverse)
การพันแบบวงกลม(circular turn)
การพันเป็นรูปเลข 8(figure of eight)
การพันแบบกลับไปกลับมา (recurrent)
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมการหายของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าไปในแผล
ดึงขอบแผลเข้าหากัน
รักษาสภาพปกติของผิวหนัง
ห้ามเลือด
วิธีการเย็บแผล
Continuous method
Interrupted method
Simple interrupted method
Interrupted mattress method
Subcuticular method
Retention method (Tension method)
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
Absorbable sutures
เส้นใยธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
Non-absorbable sutures
เส้นใยตามธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ