Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน และการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
และการดูดเสมหะ
ความสำคัญ
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
ความดันออกซิเจน ขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
หมุนเวียน กำจัดคาร์บอนไดออกไซด์
เม็ดเลือดแดง ขนส่งก๊าซ
ระบบทางเดินหายใจและกลไก
อวัยวะที่ใช้
จมูก ดักจับฝุ่นละออง เพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
โพรงจมูก และช่องคอ เพิ่มอุณหภูมิ ดักจับเชื้อโรค เพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
ฝาปิดกล่องเสียง กันอาหารที่กลืนลงไปตกลงสู่ระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียง สร้างเสียง และทางเดินหายใจ
หลอดคอ หลอดลม และหลอดลมฝอย ลำเลียงอากาศ ดักจับเชื้อโรค กำจัดเชื้อโรค
ถุงลม แลกเปลี่ยนแก๊ส
กลไกการหายใจ
หายใจเข้า กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น กระบังลมเลื่อนต่ำลง
หายใจออก กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง กระบังลมเลื่อนสูงขั้น
กลไกการควบคุม
ควบคุมแบบอัติโนมัติ Pons และ Medulla เป็นตัวสร้าง และส่งสัญญาณประสาทกระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการหายใจ
ควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ Cerebral cortex hypothalamus และCerebellum ควบคุมหรือปรับการหายใจให้เหมาะสม
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจน
เดินทาง หรืออาศัยบนที่สูง
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
เล่นกีฬา หรือออกกำลังกายหนักๆ
ความเครียด
อาหารที่มีไขมันมาก
ผู้สูงอายุ
การดื่มสุรา และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
ประเมินการตรวจห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
การตรวจหาหาระดับฮีโมโกลบิน
ประเมินสุขภาพ
ชีพจร
การหายใจ
ความดันโลหิต
อุณหภูมิร่างกาย
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ
สาเหตุ
การอับเสบ หรือบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ฝุ่น ควัน สารเคมี
ความร้อน - เย็นของอากาศ
อาการ
ไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ
การพยาบาล
ประเมินลักษณะการไอ
สังเกตเสียง ความถี่ ระยะเวลาการไอ
สังเกตสี และกลิ่นของเสมหะ ( ถ้ามี )
ดูแลความสะอาดช่องปาก
ดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆ และเปลี่ยนอริยาบทบ่อยๆ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ และให้ยาบรรเทา
Hemoptysis
ชนิด
ไอจนมีเลือดสดออกมา
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
ไอจนมีเสมหะคล้ายสนิม
สาเหตุ
อุบัติเหตุ
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือด และโรคปอดต่างๆ
การพยาบาล
ให้พัก และเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด
Hiccup
สาเหตุ
กินอิ่มมากเกินไป
ดื่มเครื่องดื่มที่ทำให้เกิดแก๊ส
สูบบุหรี่จัด
การพยาบาล
ดมสารมีกลิ่นฉุน
ชิมของเปรี้ยวจัด
กลั้นหายใจเป็นพักๆ
หายใจเข้าออกถุงปิด
เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
Dyspnea
สาเหตุ
ทางเดินหายใจอุดกั้น ปอดถูกทำลาย
หัวใจทำงานไม่ดี
โรคไขสันหลังอักเสบ
โรคหืด หลอดลมอักเสบ
การพยาบาล
ให้นอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจน
เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจ และไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain
สาเหตุ
กล้ามเนื้ออักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
เส้นประสาทอักเสบ
การพยาบาล
สังเกตอาการ แนะนำให้นอนตะแคง หากอาการไม่ดีขึ้นให้ทายาแก้ปวด
ประเมินสาเหตุของอาการ
เตรียมอุปกรณ์ให้ออกซิเจน และพิจารณาให้ออกซิเจน
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริม
จัดท่าผู้ป่วย
ภาวะออกซิเจนต่ำ ให้จัดอยู่ในท่าศีรษะสูง
หายใจลำบาก ให้กำลังจัดท่าศรีษะสูงในท่านั่ง หรือฟุบหลับบนเก้าอี้
บริหารการหายใจ
ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง หรือกระบังลม
วิธีทำ
ตรวจดูว่าจมูก หลอดลม ไม่มีน้ำมูก หรือเสมหะ ช่วยเหลือผู้ป่วยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
สอนผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูกหลังหายใจเข้าลึกเต็มที่แล้วเป่าลมออกทางปากช้าๆ
หลังชำนาญแล้ว ให้หาของหนักประมาณ 5 ปอนด์ วางบนหน้าท้อง ฝึกครั้งละ 10 - 20 นาที ทุกชั่วโมง จนชิน
ห่อปาก
วิธีทำ
ช่วยเหลือผู้ป่วยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย แนะนำผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก
หายใจออกช้าๆโดยการห่อปาก ฝึก 5 - 10 นาที วันละ 4 ครั้ง
หายใจเข้าลึกๆ
วิธีทำ
จัดท่าให้ผู้ปุวยหายใจเข้าลึก ๆ และไอได้สะดวก
รวบตรึงบริเวณผ่าตัดด้วยหมอน โดยใช้มือกอดหมอน
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ อย่างช้าๆ กรณีหลังผ่าตัด ให้ยาระงับปวดก่อน 20 - 30 นาที
ให้ผู้ป่วยให้กลั้นหายใจและไอออกแรงๆ เตรียมกระดาษเยื่อและชามรูปไต หรือกระโถนให้ผู้ป่วย
ดูดเสมหะ
ส่งเสริม
ทำให้หทางเดินหายใจโล่ง
เพิ่มการขยายตัวของทรวงอก และปอด
เพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด
ลดความต้องการออกซิเจนในร่างกาย
ช่องทางการดูด
ทางจมูก หรือปาก
วิธีดูด
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ ล้างมือให้สะอาด สวมmask สวมถุงมือ จัดท่าให้นอนตะแคงศีรษะต่ำเล็กน้อย
หยิบสายดูดต่อกับเครื่องดูด ปรับแรงดัน ทดสอบด้วยใช้นิ้วปิดปลายสายดูดเสมหะ ให้ผู้ป่วยอ้าปาก
ใช้ไม้กดลิ้น ใส่สายดูดบริเวณที่ต้องการ ไม่ควรดูดนานเกิน 10 วินาที
ล้างสายดูดโดยดูดน้ำเกลือใช้ภายนอก เช็ดบริเวณที่เปียก ถอดสายดูด เก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ถอดถุงมือทิ้ง
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะ
ลักษณะสีผิว เล็บ และริมฝีปาก
อาการเหนื่อย หายใจลำบาก ซึม
ลักษณะเสมหะ เหนียว จำนวน
เตรียมเครื่องใช้
Oral airway ไม้กดลิ้น
เครื่องดูดเสมหะ สายดูดเสมหะ
สายดูดเสมหะปราศจากเชื้อ ท่อต่อ
ถุงมือสะอาด ขวดน้ำเกลือใช้ภายนอก
ทางท่อช่วยหายใจ
ชนิด
ชนิดเคลื่อนที่
ชนิดติดฝาผนัง
อาการแทรกซ้อน
ระคายเคืองบริเวณจมูก ริมฝีปาก
โอกาสติดเชื้อง่าย เป็นแผลง่าย
อาจเกิดความผิดปกติในผู้ป่วยโรคหัวใจ
การพยาบาล
แสดงท่าทางสุภาพ อ่อนโยน ทำด้วยความเบามือ นุ่มนวม
พูดให้กำลังใจก่อนเดินออกจากเตียงผู้ป่วย
การเก็บเสมหะ
ส่งตรวจ
แบบเพาะเชื้อ
เทคนิคการพยาบาล
ระบบการใช้ออกซิเจน
ไหลเวียนชนิดต่ำ
ให้ชนิดเขี้ยว
ข้อดี
ดื่มน้ำ หรือรับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสายออก
ข้อเสีย
อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง ทำให้มีน้ำมูกออกมาอุดตันท่อได้
เฝ้าระวังการเกิดแผลกดทับบริเวณใบหูที่กดกับสายยาง
ความเข้นข้นต่ำ ได้ออกซิเจนร้อยละ 30 - 40อัตราการไหลเวียน 4 -6 ลิตร/นาที
ให้ชนิดหน้ากาก
Simple mask
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40 - 50 อัตราการไหล 5 - 8 ลิตร/นาที
Reservoir bag
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 60 - 90
Non rebreathing mask
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นของออกซิเจนสูงมาก
ข้อดี
เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องการออกซิเจนบริสุทธิ์ในความเข้มข้นสูง หรือในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว
ข้อเสีย
ไม่ควรให้ติดต่อกัน เพราะมีผลต่อระบบทางเดินหายใจ
ไหลเวียนชนิดสูง
ให้ชนิด T-piece
สวมยึดติดกับท่อเจาะหลอดลมคอ
ความยาวไม่เกิน 6 นิ้ว
ให้ทางหลอดลม
คล้ายหน้ากากคล้องไว้กับคอ
มี corrugated tube เพื่อให้ได้ความชื้นแบบละอองฝอย
ให้ชนิด Croupette tent
คล้ายเต้นท์ อุณหภูมิข้างในไม่ต่ำกว่า 10 - 15 องศาฟาเรนไฮต์
หมั่นเปลี่ยนอุปกรณ์เครื่องนอน เนื่องจากความชื้น
ใช้ชนิด Hood
ใช้ครอบศีรษะ และไหล่ ลักษณะเป็นกระโจม
อัตราการไหล 10 - 12 ลิตร/นาที ความเข้มข้นร้อยละ 60 - 70
ให้ทางท่อช่วยหายใจ
ใส่ม่อเข้าไปในหลอดลมผู้ป่วย ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจเองได้
ระบบความชื้น
ชนิดละอองโต
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 %
ชนิดละพองฝอย
ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว มักเห็นเป็นหมอก
แหล่งให้ออกซิเจน
ถังออกซิเจน
ก่อนใช้ออกซิเจนจากถังบรรจุออกซิเจน ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ
ระบบท่อ
ก่อนใช้ออกซิเจนจากระบบท่อ ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ
ภาวะบ่งชี้ในการรักษาด้วยออกซิเจนความกดบรรยากาศสูง
โรคฟองแก๊สอุดตันในหลอดเลือดแดง
โรคคาร์บอนมอนน็อคไซด์เป็นพิษ/ การสำลักควันไฟ
การติดเชื้อของเนื้อเยื่อจากแบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อเนื่องจากการถูกบดขยี้
โรคที่เกิดจากความดัน
โรคแผลเรื้อรัง
โลหิตจางเนื่องจากเสียเลือดจำนวนมาก
การติดเชื้อและมีการตายของเนื้อเยื่อ
การติดเชื้อเรื้อรังของเยื่อหุ้มกระดูก
การปลูกถ่ายผิวหนังและกล้ามเนื้อ
การได้รับบาดเจ็บจากรังสี
แผลไหม้จากความร้อน
โรคฝีในสมอง
ชนิดและลักษณะของห้องปรับบรรยากาศ
ชนิดหลายคน และชนิดคนเดียว
สามารถทนความกดบรรยากาศได้สูงสุด 3 บรรยากาศ
สามารถบรรจุผู้ป่วยนอนได้ครั้งละ 1 คน เท่านั้น
ผู้ป่วยสามารถผ่อนคลาย นอนพัก หรืดูโทรทัศน์ ขณะเข้ารับการรักษา
มีระบบสื่อสาร ผู้ป่วยสามารถพูดคุยติดต่อกับบุคคลภายนอกได้ขณะเข้ารับการรักษา
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการรับออกซิเจน
อาการและการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล อาการเขียวคล้ำ ภาวะซีด
ความดัน สมาธิ และความรู้สึกตัวลดลง
อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า หายใจลำบาก
วิงเวียนศีรษะ บ้านหมุน
ชีพจรเต้นเร็วขึ้น หายใจเร็ว และลึก เต้นไม่เป็นจังหวะ
วัตถุประสงค์
รักษาภาวะพร่องออกซิเจน
ลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ ระบบการไหลเวียนเลือด และหลอดเลือด
ข้อบ่งชี้
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
เสี่ยงต่อภาวะ Hypoxemia
เกิดภาวะบาดเจ็บรุนแรง
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
ข้อควรระวัง และภาวะแทรกซ้อน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ป่วยที่หายใจเอง
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ
ควรระวังการให้ออกซิเจนผู้ป่วยที่ได้รับพิษ Paraquat
การพยาบาล
หมั่นสังเกตและประเมิน
วัดชีพจร ความรู้สึกตัว
ความผิดปกติของสีผิว
ปริมาตรหายใจเข้า - ออก
ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน
หมั่นตรวจอุปกรณ์
ตรวจสายยางให้อยู่ตำแหน่งที่ถูก
ออกซิเจนไม่รั่ว ขวดทำความชื้นมีน้ำไม่มากไม่น้อยเกินไป
เปลี่ยน และนำอุปกรณ์ไปทำความสะอาด และปลอดเชื้อ สลัดให้แห้ง
ดูแลทางเดินหายใจ
จัดท่านอน ท่านั่งให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย
ดูดเสมหะที่ค้างเป็นระยะๆ
สอนไออย่างถูกวิธี
กระตุ้นให้รับน้ำเพียงพอ
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ
จิบน้ำบ่อยๆ
ล้างปากด้วยน้ำยา หรือบ้วนด้วยน้ำสะอาดบ่อยๆ
ทาริมฝีปากด้วย กลีเซอรีน บอแรกซ์
ทำความสะอาดช่องจมูก และบริเวณใบหน้า
ดูแลด้านจิตใจ
บอกประโยชน์การรับออกซิเจน
แนะนำ อธิบายให้ผู้ป่วยรู้จักเครื่องมือ และชำนาญในการใช้เครื่องมือ
รับฟังความเห็นของผู้ป่วยอย่างจริงจัง และรีบดูแลทันทีเมื่อผู้ป่วยขอความช่วยเหลือ
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติ และต้องคำนึงถึง
อาจเกิดการติดเชื้อแทรกซ้อน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติต่างๆ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask ประเมินสัญญาณชีพ และระดับความรู้สึกตัว
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ำกลั่นปลอดเชื้อ
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter ตามที่ต้องการ
บันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมได้รับออกซิเจน
ประเมินภาวะสุขภาพ
สัญญาญชีพ
ความผิดปกติของร่างกาย
วินิจฉัย
เสี่ยงต่อ...............เนื่องจาก.............
วางแผน
ให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ
การปฏิบัติ
ประเมินสภาพผู้ป่วยก่อนได้รับออกซิเจน
จัดท่านอนสูง จัดสิ่งแวดล้อมให้มีความปลอดภัย
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
วัดชีพจรทุก 4 ชม. ประเมิน O2 saturation ทุก 2 ชม.
ดูแลส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับผู้ป่วยให้เพียงพอ
ให้การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
ประเมินผล
ประเมินผลลัพธ์
ประเมินผลกิจกรรม
ประเมินผลคุณภาพ