Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
แบ่งตามสาเหตุ
เกิดจากการผ่าตัด
เรียก surgical wound , sterile wound หรือ incision wound
เกิดจากถูกของมีคมตัด
เรียก cut wound เช่น แผลจากโดนมีดฟัน หรือถูกเศษแก้วบาด
เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง
เรียก stab wound หรือ peneturating wound
เช่น
แผลถูกแทงด้วยมีด
แผลจากการเหยียบตะปู
เกิดจากโดนระเบิด
เรียก explosive wound
เกิดจากถูกบดขยี้
เรียก crush wound
เช่น
แผลถูกเครื่องบดนิ้วมือ
เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน
เรียก traumatic wound
เช่น
แผลของอวัยวะภายในช่องท้องถูกกระแทกจำกพวงมาลัยรถยนต์ขณะเกิดอุบัติเหตุ
เกิดจากถูกยิง
เรียก gunshot wound
มีขอบแผลขาดกะรุ่งกะริ่ง
เรียก lacerated wound
เกิดจากการถูไถลถลอก
เรียก abrasion wound
เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง
เรียก infected wound
เกิดจากการตัดอวัยวะบางส่วน
เรียก stump wound
เช่น
แผลตัดเหนือเข่า
เกิดจากการกดทับ
เรียก pressure sore, bedsore, decubitus ulcer, pressure injury
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
จากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
จากสารเคมีที่เป็นด่าง
จากสารเคมีที่เป็นกรด
จากถูกความเย็นจัด
จากไฟฟ้าช็อต
จากรังสี
เกิดจากการปลูกผิวหนัง
หมายถึง แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง
เกิดแผล 2 ตำแหน่ง
ส่วนที่ตัดผิวหนังออกมา
ส่วนที่เป็นแผลเดิม ที่นำผิวหนังส่วนที่ตัดออกมาปลูกผิวหนัง
นิยมใช้ผิวหนังของตนเอง
แบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง
หมายถึง ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกันอาจเกิดการติดกันเอง หรือจากการเย็บด้วยวัสดุเย็บแผล ไม่มีสารคัดหลั่ง
เช่น
แผลผ่าตัดเย็บปิด
แผลลักษณะเปียกชุ่ม
หมายถึง ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน หรือขอบแผลกว้าง มีสารคัดหลั่ง
เช่น
แผลผ่าตัดยังไม่เย็บปิด
แบ่งตามลาดับความสะอาด
แบ่งประเภทของแผลผ่าตัดเป็น 4 ประเภท
แผลผ่าตัดสะอาด
ลักษณะ
ไม่มีการติดเชื้อ
ไม่มีการอักเสบมาก่อน
การผ่าตัดไม่ผ่านระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ท่อปัสสาวะ
blunt trauma ที่ไม่มีการแทงทะลุหรือฉีกขาด เป็นแผลผ่าตัดชนิดปิด
ถ้ามีท่อระบายต้องเป็นชนิดระบบปิด
แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
ลักษณะ
มีการผ่าตัดผ่านระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เป็นการผ่าตัดที่เกี่ยวกับท่อน้ำดี
อวัยวะสืบพันธุ์
ช่อง oropharynx ที่ควบคุมการเกิดปนเปื้อนได้ขณะทำผ่าตัด
แผลปนเปื้อน
ลักษณะ
open wound
fresh wound
แผลจากการได้รับอุบัติเหตุแผลที่เกิดการปนเปื้อนสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินอาหาร เป็นแผลที่มีการอักเสบเฉียบพลัน
แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
ลักษณะ
old traumatic wound
gangrene
แผลมีการติดเชื้อมาก่อน
แผลกระดูกหักเกิน 6 ชั่วโมง
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
acute wound
เป็นการเกิดแผล และรักษาให้หายในระยะเวลาอันสั้น หรือการหายของแผลเป็นไปตามขั้นตอนการหายของบาดแผล
chronic wound
เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานาน และรักษายาก หรือรักษาเป็นเวลานาน อาจมีอาการแทรกซ้อนตามมาภายหลัง
gangrene wound
เป็นแผลที่เกิดจากการขาดเลี้ยงไปเลี้ยงหรือเลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ สาเหตุจากหลอดเลือดตีบแข็ง
แบ่งตามการรักษา
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
ด้วยการดามกระดูกด้วยเหล็ก หรือแผ่นเหล็กและตะปูเกลียว
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ
เป็นการรักษาแผลที่มีเนื้อตาย หรือแผลเรื้อรังโดยการปิดแผลสุญญากาศ
วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
กลไกการทำงาน
ลดการบวมของแผลและเนื้อเยื่อใกล้เคียงทันทีที่เปิดเครื่องดูดสุญญากาศ
เพิ่มปริมาณเลือดมาสู่แผล ผลจากแรงระหว่างเนื้อเยื่อแผลกับแผ่นโฟม ทำให้เลือดไหลมาสู่แผล
กระตุ้นการงอกใหม่ของเซลล์ แรงจากการยืด
ลดแบคทีเรียในแผล
แผลท่อระบาย
เป็นแผลผ่าตัดซึ่งศัลยแพทย์เจาะผิวหนังเพื่อใส่ท่อระบายของเสียจากการผ่าตัดเป็นท่อระบายระบบปิด
แผลท่อหลอดคอ
เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ ทำการผ่าตัดเปิดหลอดลม
เพื่อใส่ท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินหายใจ
chest drain
เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ ทำการเจาะปอด เพื่อใส่ท่อระบายของเสียออกจากปอดในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอด
colostomy
เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ทำผ่าตัดเปิดลำไส้ใหญ่ออกทางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระในผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินอาหาร
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
Local factors
แรงกด
การหายของแผลและมีความเจ็บปวดน้อยในภาวะแวดล้อมชุ่มชื้นหายเร็ว 3-5 เท่า ในภาวะแวดล้อมแห้งกว่า เพราะภาวะแวดล้อมแห้งเซลล์ขาดน้ำ
ภาวะแวดล้อมแห้ง
การนอนในท่าเดียวนาน ๆ ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวกเลือดไปเลี้ยงบาดแผลน้อยลงเกิดเป็นรอยแดง หรือทำให้แผลเกิดการลุกลามมากยิ่งขึ้น
การได้รับอันตรายและอาการบวม
การได้รับอันตรายทำให้เนื้อเยื่อเกิดอาการบวม
infection
ทำให้แผลหายช้ำ ในกรณีที่ทีการติดเชื้อจึงต้องเก็บสิ่งตัวอย่างส่งตรวจ
necrosis
slough
ลักษณะเปียก สีเหลือง เหนียว หลวม ยืดหยุ่นปกคลุมบาดแผล
eschar
ลักษณะหนา เหนียวคล้ายหนังสัตว์มีสีดำ
incontinence
การปัสสาาวะและอุจจาระกะปิดกะปอยทำให้ผิวหนังเปียกแฉะทำให้แผลสกปรกตลอดเวลา เป็นปัญหาในการดูแลแผล
ปัจจัยระบบ
age
คนที่มีอายุน้อยบดแผลจะหายได้เร็วกว่าคนที่มีอายุมาก
เพระ มีภาวะการเจริญเติบโตและสุขภาพแข็งแรงกว่า โอกาสเกิดแผลเป็นได้น้อยกว่า
โรคเรื้อรัง
โรคที่มีผลกระทบต่อการหายของแผล
น้ำในร่างกาย
ผู้ป่วยอ้วนการหายของแผลค่อนข้างช้า
เพราะเลือดไปเลี้ยงน้อยทำให้เซลล์ได้รับออกซิเจนและสารอาหารไม่พอเพียงต่อการหายของแผล
vascular insufficiencies
กรณีมีแผลของอวัยวะส่วนปลาย
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
การกดภูมิคุ้มกันอันเนื่องมาจากโรค หรือยาส่งผลทำให้แผลหายช้า และการรักษาด้วยรังสีรักษาอาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดแผลหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงของสีผิวหนังในขณะหรือหลังการรักษา
nutritional status
สารอาหารที่จำเป็นต่อการหายของแผล คือ โปรตีน, อัลบูมิน, คาร์โบไฮเดรต, ไขมัน, วิตามินเอ, ซี, เค, บี6, บี2, บี 1, ทองแดง (Cu), เหล็ก (Fe) และสังกะสี (Zn)
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
Type of wound healing
Primary intention healing
เป็นแผลประเภทที่ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอาด เช่น แผลผ่าตัด การรักษาโดยการเย็บดึงขอบแผลเข้าหากัน หรือแผลขนาดเล็กน้อยแล้วแผลสมานหายได้เองตามธรรมชาติ
Secondary intention healing
เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน ขอบแผลมีขนาดกว้างเย็บแผลไม่ได้ การรักษาโดยการทำแผลจนเกิดมีเนื้อเยื่อใหม่
Tertiary intention healing
เป็นแผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิ เมื่อทำการรักษาโดยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด และไม่มีอาการการแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว ศัลยแพทย์จะพิจารณาปลูกถ่ายผิวหนัง
Stage of wound healing
ห้ามเลือดและอักเสบ
จะเกิดขึ้นก่อน ในเวลา 5-10 นาที เซลล์ที่มีความสำคัญของระยะนี้ ได้แก่ platelets, neutrophils, and macrophages เมื่อเกิดการฉีกขาดของผิวหนังและหลอดเลือด มีเลือดไหลออก platelet จะทำหน้าที่แรก คือ หลั่งสาร thrombokinase และthromboplastin ทำให้ prothrombin กลายสภาพเป็น thrombin ช่วยทำให้ fibrinogen เปลี่ยนเป็น fibrin เกิดเป็นลิ่มเลือด ทำให้เลือดหยุด
การสร้างเนื้อเยื่อ
เป็นระยะการสร้างเนื้อเยื่อใหม่จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4 12 วัน ซึ่งจะเห็น fibroblast (เป็นconnective tissue ชนิดหนึ่ง) เกิดขึ้นในแผล เริ่มมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ (granulation tissue) macrophage ยังคงทำหน้าที่สร้าาง growth factor ต่อไป growth factor จำเป็นต่อการสร้าง fibroblast และกระบวนการสร้างหลอดเลือด (angiogenesis) และหลังจากวันที่ 4 กระบวนการสร้างคลอลาเจน (collagen synthesis) จะเริ่มขึ้นไปพร้อมกับไป angiogenesis ซึ่ง collagen synthesis จะต้องอาศัยกระบวนการออกซิเดชั่น (oxidation) ของกรดอะมิโน
การเสริมความแข็งแรง
เป็นระยะสุดท้ายของการสร้างและความสมบูรณ์ของคอลลาเจน ซึ่งfibroblast จะเปลี่ยนเป็น myofibroblast
การบันทึกลักษณะบาดแผล
ชนิดของบาดแผล
ตำแหน่ง/บริเวณ
ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี
ลักษณะผิวหนัง
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
ห้ามเลือด
ดึงขอบแผลเข้าหากัน
ส่งเสริมการหายของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าไปในแผล
รักษาสภาพปกติของผิวหนัง
วิธีการเย็บแผล
Continuous method
เป็นวิธีการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล หรือความยาวของวัสดุเย็บแผล โดยไม่มีการตัดจนกว่าจะเสร็จสิ้นการเย็บแผล
Interrupted method
Simple interrupted method
เป็นวิธีการเย็บแผลเพื่อดึงรั้งให้ขอบแผลทั้งสองติดกัน เหมาะสำหรับเย็บบาดแผลผิวหนังทั่วไป
Interrupted mattress method
เป็นวิธีการเย็บแผลโดยการตักเข็มเย็บที่ขอบแผลสองครั้ง ใช้ในรายที่ต้องการความแข็งแรงของแผล เหมาะสำหรับเย็บแผลที่ลึกและยาว
Subcuticular method
เป็นการเย็บแผลแบบ continuous method แต่ใช้เข็มตรงในการเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง เหมาะสำหรับการเย็บด้านศัลยกรรมตกแต่งเพื่อความสวยงาม เพราะวัสดุที่ใช้เย็บเป็นวัสดุชนิดละลายได้เองจึงมีโอกาสเกิดแผลเป็นได้น้อย เนื่องจากใช้ไหมละลายเป็นวัสดุในการเย็บแผลจึงไม่ต้องตัดไหมออกเมื่อครบกำหนด
Retention method
เป็นวิธีการเย็บรั้งแผลเข้าหากัน เพื่อพยุงแผลในกรณีผู้ที่มีชั้นไขมันหน้าท้องหนา หรือแผลที่ตึงมาก และแผลที่ต้องการทำ secondary suture
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
Absorbable sutures
เส้นใยธรรมชาติ
เริ่มยุ่ยสลาย 4 5 วัน และจะหมดไปภายใน 2 สัปดาห์
เส้นใยสังเคราะห์
ละลายได้เร็ว 5 10 วัน
Non absorbable sutures
เส้นใยตามธรรมชาติ
เช่น ไหมเย็บแผล (silk) ราคาถูก ผูกปมง่าย
เส้นใยสังเคราะห์
เช่น nylon เส้นเหล่านี้มีความแข็งแรงมำกกว่าไหมเย็บแผล แต่ผูกปมยากและคลายได้ง่าย
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
เช่น ลวดเย็บ (staples) เป็นวัสดุเย็บแผลสำเร็จรูป แต่ต้องมีเครื่องมือสำหรับใส่ลวดเย็บ
วิธีการทาแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
Dry dressing
หมายถึง การทำแผลที่ไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้น
ในการหายของแผล ใช้ทำแผลสะอาด แผลปิด แผลที่ไม่อักเสบเป็นแผลเล็กไม่มีสารคัดหลั่งมาก
Wet dressing
หมายถึง การทำแผลที่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล ใช้ทำแผลเปิด แผลอักเสบติดเชื้อ แผลที่มีสารคัดหลั่งมาก
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
dressing set
ประกอบด้วย ปากคีบไม่มีเขี้ยว (non tooth forceps) ปากคีบมีเขี้ยว (tooth forceps) ถ้วยใส่สารละลาย (iodine cup) สำลี (cotton ball) และgauze
solution
แอลกอฮอล์
น้ำเกลือล้างแผล
เบตาดีน หรือโปรวิโดน ไอโอดีน
วัสดุสำหรับปิดแผล
ผ้าก๊อซ
ผ้าก๊อซหุ้มสำลี
ผ้าซับเลือด
วายก๊อซ
วาสลินก๊อซ
ก๊อซเดรน
transparent film
แผ่นเทปผ้าปิดแผล
antibacterial gauze dressing
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
วัสดุที่ใช้คือ plaster ชนิดธรรมดา
อุปกรณ์อื่น ๆ
ภาชนะสาหรับทิ้งสิ่งสกปรก
Dry dressing
1.เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ)
2.เปิดชุดทำแผล
3.หยิบ non tooth forceps
4.หยิบ tooth forceps
5.หยิบสำลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ แผล
6.หยิบสำลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจำกบนลงล่างจนแผลสะอาด
7.ทำแผลด้วย antiseptic solution
8.ปิดแผลด้วย gauze
9.เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอด mask และล้างมือ
Wet dressing
1.เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ)
2.ทำความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับการทำ dry dressing
3.ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยา
4.ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยา
5.ปิดแผลด้วยผ้า gauze และปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
Tube drain
1.การเตรียมเครื่องใช้ในการทำแผล
2.ใช้ non tooth forceps
3.ใช้สำลีชุบ NSS
4.ใช้สำลีชุบ alcohol 70%
5.กรณี Penrose drain และแพทย์มีแผนการรักษาให้ตัดท่อยางให้สั้น
7.หลังการทำแผลเสร็จแล้วจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
6.พับครึ่งผ้า gauze วางสองข้างของท่อระบาย
Suture removal
หลักการตัดไหม
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้ง
เศษไหมที่เย็บแผลส่วนที่มองเห็นเป็นส่วนที่มีการสัมผัสเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำ
วิธีทาการตัดไหม
ทำความสะอาดแผล ใช้ alcohol 70% เช็ดรอบแผล
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted method
การตัดไหมที่เย็บแผล ชนิด interrupted mattress
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทำความสะอาดแผลผ่าตัดตามปกติ
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้ว เช็ดแผลด้วย normal saline 0.9%
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
หลักการพันแผล
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้าเข้าหากัน
ตำแหน่งที่ต้องการจะพันผ้าผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอาดและแห้ง
การลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้าพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมาะสม
ต้องทำความสะอาดบาดแผล
ตำแหน่งที่บาดเจ็บ
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก
การพันผ้าใกล้ข้อ
วิธีการพันแผล
1.การใช้ผ้าสามเหลี่ยม ผ้าสามเหลี่ยมเป็นสามเหลี่ยมที่มีมุมยอดเป็นมุมฉาก ขนาดของผ้าที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาดของตัวผู้ป่วยและอวัยวะที่ต้องการพันผ้า
2.การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน มีหลักการพันผ้า ได้แก่ เริ่มต้นพันผ้าจากส่วนเล็กไปหาส่วนใหญ่ พันผ้าเข้าหาตัวผู้ป่วย ตั้งต้นและจบผ้าพันด้วยการพันรอบทุกครั้งเพื่อให้ผ้าไม่เลื่อนหลุด การเริ่มต้น การต่อผ้า หรือการจบของการพันผ้า ต้องระวังไม่ตำแหน่งที่เริ่มหรือจบผ้านั้นต้องไม่ตรงกับบริเวณที่เป็นแผลหรือบริเวณที่มีการอักเสบ
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบวงกลม
การพันแบบเกลียว
การพันแบบเกลียวพับกลับ
การพันเป็นรูปเลข 8
การพันแบบกลับไปกลับมา
ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
พยาธิสภาพของ
การเกิดแผลกดทับ
ขณะที่มีแรงกดทับลงบนผิวหนังจะมีค่าเฉลี่ยของแรงกดกับหลอดเลือดฝอยเท่ากับ 25 มม.ปรอท เมื่อมีแรงกดทับผิวหนังที่ทำกับปุ่มกระดูกเป็นเวลานานทำให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อรอบ ๆ ขาดออกซิเจนจากโลหิตมาเลี้ยงไม่ได้ ทำให้เกิดการตายของผิวหนังและเนื้อเยื่อต่าง ๆ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการรักษา
การผ่าตัด
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
ความชื้น
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 1
ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาด
ระดับที่ 2
ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ
ระดับที่ 3
แผลลึกถึงชั้นไขมัน
ระดับที่ 4
แผลลึก เป็นโพรง
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยง
การแปลผล
15 หรือ 16 คะแนน
มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับต่ำ
13 หรือ 14 คะแนน
มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับกลาง
12 คะแนนหรือน้อยกว่า
มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับสูง
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
1.Assessment
2.Nursing diagnosis
3.วัตถุประสงค์
4.Holistic nursing care
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านจิตวิญญาณ
5.Evaluation