Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
แบ่งตามลาดับความสะอาด
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แบ่งตามลักษณะ
แบ่งตามการรักษา
แบ่งตามสาเหตุ
ปัจจัยระบบ
อายุ
โรคเรื้อรัง
น้ำในร่างกาย
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
ภาวะโภชนาการ
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ
เป็นแผลประเภทที่ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอาด
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ
เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีกำรสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน ขอบแผลมีขนาดกว้างเย็บแผลไม่ได้
การหายของแผลแบบตติยภูมิ
เป็นแผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิ เมื่อทำการรักษาโดยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด
กระบวนการหายของแผล
ระยะ1ห้ามเลือดและอักเสบ
ระยะ 2การสร้างเนื้อเยื่อ
ระยะ 3การเสริมความแข็งแรง
การบันทึกลักษณะบาดแผล
ชนิดของบาดแผล
ตำแหน่ง/บริเวณ
ขนาด
สี
ลักษณะผิวหนัง
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วิธีการเย็บแผล
Continuous method
Interrupted method
Simple interrupted method
Interrupted mattress method
Retention method
Subcuticular method
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง
เส้นใยธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง
การทำแผลแบบเปียก
การตัดไหม
หลักการตัดไหม
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอัน
เศษไหมที่เย็บแผลส่วนที่มองเห็นเป็นส่วนที่มีการสัมผัสเชื้อแบคทีเรียที่อำศัยอยู่ตามผิวหนังในกำรตัดและดึงไหมออกจึงไม่ควรดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่ำนใต้ผิวหนัง
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำ
วิธีทำการตัดไหม
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted method
การตัดไหมที่เย็บแผล ชนิด interrupted mattress
ทำความสะอาดแผล ใช้alcohol 70% เช็ดรอบแผล
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทำความสะอาดแผลผ่าตัดตามปกติ
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้ว เช็ดแผลด้วย normal saline 0.9% และเช็ดให้แห้งอีกครั้ง
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
ผ้าสามเหลี่ยม
หลักการพันแผล
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้าเข้าหากัน
ผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอาดและแห้ง
การลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้าพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมาะสม
ต้องทำความสะอาดบาดแผล และปิดผ้าปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน
ตำแหน่งที่บาดเจ็บ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า ต้องใช้ผ้าก๊อสคั่นระหว่างนิ้วก่อน
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนนั้นไว
วิธีการพันแผล
การใช้ผ้าสามเหลี่ยม
การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการักษา
การผ่าตัด
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
ความชื้น
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 1 ผิวหนังแดงไม่มีกำรฉีกขำดของผิวหนัง
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ
ระดับที่ 3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน
ระดับที่ 4 แผลลึก
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
กำรเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การให้การพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การวางแผนให้การพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล