Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
ขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน
ความดันออกซิเจน
ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
การหมุนเวียน
เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
สรุป
การถ่ายเทก๊าซจากที่ความเข้มข้นสูงสู่ที่ต่ำกว่า
โดยมีระบบหมุนเวียนเลือดที่มีเม็ดเลือดแดงเป็นตัวนำพา
ปัจจัยที่มีผลต่อการไดรับออกซิเจนของบุคคล
อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย
ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ
ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลังกาย
การสูบบุหรี่ มีผลเสียต่อร่างกายในหลาย ๆ
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
หายใจไม่สะดวก หายใจลำบากเมื่อนอนราบ (Orthopnea)
การหายใจแบบอ้าปากเสมือนว่าหิวอากาศ (air hunger)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก
หัวใจหยุดเต้นในระยะสุดท้าย
ระบบประสาทส่วนกลาง
ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลง
เพ้อ หมดสติ หรือชัก
ระบบผิวหนัง
ผิวหนังผู้ป่วยเย็น ซีด
พบอาการเขียวคล้า โดยเห็นชัด
บริเวณริมฝีปาก เล็บมือเล็บเท้า และเสียชีวิตในที่สุด
ระบบทางเดินอาหาร
อาการคลื่นไส้ อาเจียนในระยะแรก
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง : ABG
PaO2 เป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจน (O2) ในเลือดที่จับกับ Hemoglobin
HCO3 เป็นการวัดค่าความเข้มข้นไฮโดรเจนไอออน (HCO3-) ในเลือด
PaCO2 เป็นการวัดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในเลือด
SaO2 เป็นค่าเปรียบเทียบระหว่าง Hemoglobin
pH เป็นตัวชี้วัดภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบิน ที่จับกับออกซิเจน (oxyhemoglobin) ต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน : Hb
สาเหตุของ hypoxia และหรือ hypoxemia
ระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคหัวใจชนิดต่าง ๆ
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย เช่น ภาวะโลหิตจาง
ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ
ระบบทางเดินหายใจ เช่น การอุดกั้น
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough)
สาเหตุของการไอ
ฝุน ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้าที่สาลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ
กระตุ้นให้ดื่มน้าอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม
บันทึกจานวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะ
ดูแลให้ยา
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้ง ๆ หรือไอแบบมีเสมหะ
Hemoptysis
อาการไอเป็นเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
เป็นเลือด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
เลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝูาระวังการแพ้เลือด
พักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ปลอบโยน ให้กาลังใจ และให้การดูแลจนผู้ป่วยควบคุมตนเอง
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
อุบัติเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
Hiccup
อาการสะอึกเป็นอาการปกติทั่วไป ไม่ได้เกิดจากโรค
อาการสะอึกส่วนใหญ่เป็นอาการชั่วคราว โดยทั่วไปอาการสะอึกจะหายได้เอง
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของกระเพาะอาหารทันที
Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลาบาก
หัวใจ เช่น การทำงานของหัวใจไม่ดี
ทางเดินหายใจ เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น
ประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลาบาก
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ปุวยฉุกเฉิน
ให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ
ประคับประคองด้านจิตใจ
ให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer)
ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain
สาเหตุจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ
และเจ็บตลอดเวลา
สาเหตุจากหัวใจ
สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ
สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ
สาเหตุจากเส้นประสาท