Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าพันแผลชนิดม้วน (roller bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage)
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage)
หลักการพันแผล
ตำแหน่งที่บำดเจ็บ
กำรพันผ้ำบริเวณเท้ำ ขำ ตะโพก
ต้องทำควำมสะอำดบำดแผล และปิดผ้ำปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน
กำรพันผ้ำใกล้ข้อ ต้องพันผ้ำ โดยคำนึงถึงกำรขยับเคลื่อนไหวของข้อนั้นด้วย
กำรลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้ำพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมำะสม
ตำแหน่งที่ต้องกำรจะพันผ้ำผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอำดและแห้ง
ผู้พันผ้ำและผู้บำดเจ็บหันหน้ำเข้ำหำกัน
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบเกลียวพับกลับ (spiral reverse) เหมำะสำหรับอวัยวะที่เป็นทรงกระบอก
การพันเป็นรูปเลข 8 (figure of eight) เหมำะสำหรับพันบริเวณข้อพับ
การพันแบบเกลียว (spiral turn) เหมำะสำหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก
การพันแบบวงกลม (circular turn) เหมำะสำหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก
การพันแบบกลับไปกลับมา (recurrent) เหมำะสำหรับกำรพันเพื่อยึดผ้ำปิดแผลที่ศีรษะ
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล (Type of wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจำกกำรกดทับ เรียก pressure sore, bedsore, decubitus ulcer, pressure injury
แผลที่เกิดจำกกำรปลูกผิวหนัง (skin graft)
แผลที่เกิดจำกกำรตัดอวัยวะบำงส่วน เรียก stump wound
แผลที่เกิดจำกกำรติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจำกถูกบดขยี้ เรียก crush wound
แผลที่เกิดจำกกำรกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน เรียก traumatic wound
แผลที่เกิดจำกโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่มีขอบแผลขำดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจำกถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด
cut wound
แผลจากโดนมีดฟัน
ถูกเศษแก้วบาด
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด
surgical wound/sterile wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
ชนิดของแผลแบ่งตามลาดับความสะอาด
Class II: Clean contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอำดกึ่งปนเปื้อน
Class III: Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
Class I: Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่ำตัดสะอำด
Class IV: Dirty/Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน (acute wound) เป็นกำรเกิดแผล และรักษำให้หำยในระยะเวลำอันสั้น
แผลเรื้อรัง (chronic wound) เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลำนำน
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกันอำจเกิดกำรติดกันเอง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)
ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน หรือขอบแผลกว้ำง
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
แผลท่อระบำย เป็นแผลผ่ำตัดซึ่งศัลยแพทย์เจำะผิวหนังเพื่อใส่ท่อระบำยของเสียจำกกำรผ่ำตัดเป็นท่อระบำยระบบปิด
แผลท่อหลอดคอ (tracheostomy tube) เป็นแผลท่อระบำยที่ศัลยแพทย์ ทำกำรผ่ำตัดเปิดหลอดลม
กำรรักษำแผลด้วยสุญญำกำศ (Negative Pressure Wound Therapy: NPWT) เป็นกำรรักษำแผลที่มีเนื้อตำย
แผลท่อระบำยทรวงอก (chest drain) เป็นแผลท่อระบำยที่ศัลยแพทย์ ทำกำรเจำะปอด
กำรรักษำผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีกำรจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง (retention) ด้วยกำรดำมกระดูกด้วยเหล็ก
แผลทวำรเทียมหน้ำท้อง (colostomy) เป็นแผลท่อระบำยที่ศัลยแพทย์ทำผ่ำตัดเปิดลำไส้ใหญ่ออกทำงหน้ำท้อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
แรงกด (pressure) กำรนอนในท่ำเดียวนำน ๆ ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
ภำวะแวดล้อมแห้ง (dry environment) กำรหำยของแผลและมีควำมเจ็บปวดน้อยในภำวะแวดล้อมชุ่มชื้นหำยเร็ว 3 5 เท่ำ
กำรได้รับอันตรำยและอำกำรบวม (trauma and edema) กำรได้รับอันตรำยทำให้เนื้อเยื่อเกิดอำกำรบวม (edema)
กำรติดเชื้อ (infection) ทำให้แผลหำยช้ำ ในกรณีที่ทีกำรติดเชื้อจึงต้องเก็บสิ่งตัวอย่ำงส่งตรวจ (specimen)
ภำวะเนื้อตำย (necrosis)
ควำมไม่สุขสบำย (incontinence) กำรปัสสำวะและอุจจำระกะปิดกะปอยทำให้ผิวหนังเปียกแฉะทำให้แผลสกปรกตลอดเวลำ
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
โรคเรื้อรัง (chronic disease) โรคที่มีผลกระทบต่อกำรหำยของแผล
น้ำในร่ำงกำย (body fluid) ผู้ป่วยอ้วนกำรหำยของแผลค่อนข้ำงช้ำ
อำยุ (age) คนที่มีอำยุน้อยบำดแผลจะหำยได้เร็วกว่ำคนที่มีอำยุมำก
กำรไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies) กรณีมีแผลของอวัยวะส่วนปลำย (lower extremities)
ภำวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษำ (immunosuppression and radiation therapy) กำรกดภูมิคุ้มกันอันเนื่องมำจำกโรค
ภำวะโภชนำกำร (nutritional status) สำรอำหำรที่จำเป็นต่อกำรหำยของแผล
วิธีการทาแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
ชนิดของการทาแผล
การทาแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
การทาแผลแบบเปียก (Wet dressing)
การทาแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทาแผล
วัสดุสาหรับปิดแผล
วัสดุสาหรับยึดติดผ้าปิดแผล
อุปกรณ์ทาความสะอาดแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ
ภาชนะสาหรับทิ้งสิ่งสกปรก
การทาแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
การทาแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
กระบวนการหายของแผล (Stage of wound healing)
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
ระยะ 1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
ลักษณะการหายของแผล (Type of wound healing)
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ (Primary intention healing)
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ (Secondary intention healing )
การหายของแผลแบบตติยภูมิ (Tertiary intention healing)
การบันทึกลักษณะบาดแผล
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
ส่งเสริมกำรหำยของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้ำไปในแผล
ดึงขอบแผลเข้ำหากัน
รักษำสภำพปกติของผิวหนัง
ห้ำมเลือด
ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
พยาธิสภาพของการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
ภำวะโภชนำกำร ผู้ป่วยที่ได้รับสำรอำหำรที่ไม่เพียงพอ
ยำที่ได้รับกำรักษำ
อำยุ ผู้ป่วยที่เกิดแผลกดทับ
กำรผ่ำตัด ผู้ป่วยที่ใช้เวลำในกำรนำนกว่ำ 3 ชั่วโมง
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงเสียดทำน เกิดระหว่ำงผิวหนังชั้นนอกกับพื้นผิวสัมผัส
แรงเฉือน (หมำยถึง แรงกระทำในทิศทำงตั้งฉำกกับงำน)
แรงกด เป็นแรงที่กดบริเวณลงระหว่ำงผิวหนังผู้ป่วยกับพื้นรองรับน้ำหนักเป็นสำเหตุสำคัญที่สุดของกำรเกิดแผลกดทับ
ควำมชื้น เกิดจำกสำรคัดหลั่งของร่ำงกำยผู้ป่วยเอง
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกทำลำยฉีกขำดเป็นแผลตื้น
ระดับที่ 3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน (subcutaneous) แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ำมเนื้อ (muscle)
ระดับที่ 1 ผิวหนังแดงไม่มีกำรฉีกขำดของผิวหนังและไม่จำงหำยไปภำยใน 30 นำที
ระดับที่ 4 แผลลึก เป็นโพรงถึงกล้ำมเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตำย
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
สถานการณ์ตัวอย่าง
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic nursing care)
การประเมินผล (Evaluation)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีแผลกดทับ
การวางแผนให้การพยาบาล (Planning)
การ ให้การพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)