Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มโนทัศน์และทฤษฎี การพยาบาล - Coggle Diagram
มโนทัศน์และทฤษฎี
การพยาบาล
ความหมายของทฤษฎีการพยาบาล
ชุดของมโนทัศน์ทางการพยาบาลที่สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบเพื่อนำเสนอปรากฏการณ์ทางการพยาบาลอย่างเป็นระบบ โดยมีหน้าที่หรือเป้าหมายหลักเพื่อพรรณนา อธิบายทำนาย หรือควบคุมปรากฏการณ์ทางการพยาบาล ทฤษฎีการพยาบาลแต่ละทฤษฎีประกอบด้วย ข้อตกลงเบื้องต้นมโนทัศน์มากกว่าสองมโนทัศน์
ความเป็นมาของทฤษฎีการพยาบาล
การพยาบาลเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการมี “ผู้หญิง” เกิดขึ้นในโลก เนื่องจากผู้หญิงมักจะเป็นผู้ให้การดูแลผู้อื่นและที่ส าคัญผู้หญิงยังทำหน้าที่และมีบทบาทสำคัญในการเป็น “แม่” ของลูก ดังนั้นการปฏิบัติของผู้หญิงจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพยาบาล โดยมีเป้าหมายสำคัญคือการให้ความสุขสบายแก่ผู้อื่น
วิวัฒนาการของทฤษฎีการพยาบาล
ยุคช่วงเวลาแห่งการสะท้อนคิด (ค.ศ. 1976-1980)
ยุคการฟื้นฟูทฤษฎีการพยาบาลหรือการปรากฏมโนมติที่ใช้เป็นขอบเขตในวิชาชีพ (ค.ศ. 1981-1985)
ยุคจากอภิทฤษฎีสู่การสร้างมโนมติทางการพยาบาล (ค.ศ.1986-1990)
ยุคการพัฒนาทฤษฎีระดับกลางและปฏิบัติ (ค.ศ.1991-1995)
ยุควิธีการสร้างทฤษฎี (ค.ศ. 1971-1975)
ยุคของการพัฒนาทฤษฎีการพยาบาล : เป้าหมายที่ชัดเจนด้านวิชาการ (ค.ศ. 1966-1970)
ยุคการพัฒนาทฤษฎีเป็นเป้าหมายแห่งชาติ (ค.ศ.1961-1965)
ยุคการพัฒนาและการขยายทฤษฎีการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง (ค.ศ.1996-2000)
ยุคการกำเนิดทฤษฎีการพยาบาล (ค.ศ. 1955-1960)
ยุคความแตกต่างทางความคิด (ค.ศ.2000-2005)
ยุคเริ่มต้นจากฟลอเรนซ์ ไนติงเกลสู่การวิจัยทางการพยาบาล (ค.ศ.1910-1955)
ยุคสหสาขาวิชาชีพและพลังของพยาบาล (ค.ศ.2006-2010)
องค์ประกอบของทฤษฎีการพยาบาล
มโนทัศน์ หรือมโนมติ (Concept)
ข้อความ (Statement)
อภิกระบวนทัศน์ทางการพยาบาล (Metaparadigm of Nursing)
อภิกระบวนทัศน์ (Metaparadigm
ทฤษฎี (Theory)
ชนิดและประเภทของทฤษฎีการพยาบาล
การแบ่งประเภทของทฤษฎีการพยาบาลตามแนวคิดของ Meleis (1997)
ทฤษฎีระดับกลาง (Middle range Theories)
ทฤษฎีระดับที่เฉพาะเจาะจง (Situational Specific theories)
ทฤษฎีระดับกว้าง (Grand Theories)
การแบ่งประเภทของทฤษฎีการพยาบาลตามแนวคิดของ Walker & Avant (1995)
ทฤษฎีระดับกว้าง (Grand Theory)
ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice Theory)
อภิทฤษฎี(Meta-Theory)
ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Range Theory)
การแบ่งประเภทของทฤษฎีการพยาบาลตามแนวคิดของ Chin & Jacob (1983)
ทฤษฎีระดับกลาง (Middle range theory)
ทฤษฎีระดับต่ำ (Micro theory)
ทฤษฎีระดับสูง (Macro theory)
ประโยชน์ของทฤษฎีการพยาบาล
ให้เหตุผลในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่ตรงและเชื่อถือได้
ช่วยในการวางหลักเกณฑ์เพื่อวัดคุณภาพของการพยาบาล
เป็นแนวทางในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ การวินิจฉัยปัญหาและความต้องการการให้การช่วยเหลือ
เพิ่มความมีเอกสิทธิ์ (autonomy) หรือความเป็นอิสระในการปฏิบัติกาพยาบาล
ช่วยให้พยาบาลสามารถอธิบายเป้าหมายของการปฏิบัติการพยาบาล และเหตุผลของการปฏิบัติที่กระทำอยู่เป็นประจำ
ช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วย ผู้รับบริการกับพยาบาล และมองเห็นบทบาทของพยาบาลชัดเจนขึ้น