Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
🤩การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ🌸, 🥰🍰นางสาวพลินี จำปา…
🤩การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ🌸
7.1 ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้นได้อย่างไร?
เกิดจาก ความเข้มข้นที่ต่างกันของก๊าซระหว่างบรรยากาศและในเส้นเลือด
ทำให้ เกิดการซึมผ่านเยื่อเลือกผ่านที่ผนังของถุงลมและหลอดเลือด และเข้าไปในเลือด
แบ่งการทำงานเป็น 3 ส่วน
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ
เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง มีหน้าที่ หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน
มีอายุขัยประมาณ120 วัน
ร่างกายเรามีการทำลายและการ สร้างเม็ดเลือดใหม่ตลอดเวลา
องค์ประกอบอื่นๆ
Hemoglobin 97 %
ทำหน้าที่ในการ“จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง”
สามารถจับกับแก๊สได้ 4 โมเลกุล
ความดันออกซิเจน
ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจานวนน้อยสู่กระแสเลือดเพื่อส่งไปหาเซลล์ต่างๆ
เดินทางไปในอวัยวะที่ไกลขึ้น ความเข้มข้นออกซิเจนในเลือดลดลง
เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจำนวน มากขึ้นตามลำดับ
เพื่อให้ออกซิเจนออกมาอยู่ในกระแสเลือดเพื่อส่งไปสู่เซลล์
เลือดเป็นตัวกลางการ ส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์
เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจนที่จะค่อยๆ ปล่อยออกซิเจนออกมาเรื่อย ๆ
การหมุนเวียน
เมื่อเซลล์เนื้อเยื่อขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกออก จะมีการขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลับไป
ที่ปอด
เพื่อทำการหายใจระบายออก
กลไกการขนส่งมี 2 อย่างที่เป็นหลัก
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ำ เพื่อเกิดสารประกอบ
กรดคาร์บอนิก (H2CO3)
แตกตัว
เป็นไฮโดรเจนไออน (H+)
ไบคาร์บอเนต (HCO3)
สรุปการแลกเปลี่ยนก๊าซโดยรวมเกิดจาก
ความดันออกซิเจน
คาร์บอนไดออกไซด์
เกิดการถ่ายเทก๊าซจากที่ความเข้มข้นสูงสู่ที่ต่ำกว่า
7.2 ปัจจัยที่มีผลตอการไดรับออกซิเจนของบุคคล
อธิบาย
ระบบทางเดินหายใจเป็นระบบเปิดของรางกายที่ติดต่อกับสิ่งแวดลอมภายนอก โดยมีการนำอากาศจากภายนอกผ่านโครงสร้างของทางเดินหายใจภายนอก และภายในเข้าสู้ปอด
ผ่านกลไกการควบคุมทางระบบประสาท (neural control) และ การควบคุมทางเคมี (chemical control) ทำใหเกิดการหายใจเข้าและออก เพื่อนาออกซิเจนเขาสู่ปอด แลวกระจายไปยังเนื้อเยื่อ โดยมีเลือดเป็นตัวนำเขาสู้กระบวนการออกซิเดชัน (oxidation) ในเนื้อเยื่อ
ภาวะที่ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย อาจเนื่องมาจากสภาวะต่างๆ
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายหนัก ๆ
ความเครียด
อาหารที่มีไขมันมาก
ผู้สูงอายุ
การสูบบุหรี่
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
7.3 การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
โดยการประเมินพร่องออกซิเจน มี 2 วิธี
7.3.1 การประเมินสภาพร่างกาย
ใช้เทคนิคการสังเกตและการประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิร่างกาย (Temperature: T)
ชีพจร (Pulse: P)
การหายใจ (Respiration: R)
ความดันโลหิต (Blood pressure: BP)
เทคนิคการสังเกตลักษณะทั่วไป
1) ระบบทางเดินหายใจ
ระยะแรกของเซลล์พร่องออกซิเจนอย่างอ่อน
สังเกตพบ ผู้ป่วยมีอาการ หายใจไม่สะดวก หายใจลำบากเมื่อนอนราบ (Orthopnea)
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เช่น ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นใน ระยะแรก เพื่อปรับชดเชย
ระยะต่อมาหัวใจเต้นผิดจังหวะ บีบตัวช้าลง
เจ็บหน้าอก และหัวใจหยุดเต้นในระยะ สุดท้าย
3) ระบบประสาทส่วนกลาง
ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลง กระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
(เนื่องจากหลอดเลือดสมองขยายตัว)
4) ระบบผิวหนัง
ผิวหนังผู้ป่วยเย็น ซีด
เพราะร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะ พร่องออกซิเจน
5) ระบบทางเดินอาหาร
ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนในระยะแรก
7.3.2 การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เป็นการเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อ ประเมินการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด และการแปลผล
1) ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง(Arterial blood gas: ABG)
เป็นการตรวจเพื่อหา ประสิทธิภาพการทำงานของปอด เพื่อประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซ และการหายใจ
บอกถึงความสามารถของ Hemoglobinในการจับออกซิเจนเข้าสู่เซลล์
นำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเซลล์
ประกอบด้วย pH, PaCO2, PaO2, HCO3, และ SaO2
อาการและอาการแสดงที่พบ คือ hypoventilation
จะมีอาการง่วงเหงาหาวนอน
ประสาท
สัมผัสเปลี่ยนแปลงไป
ระดับความรู้สึกลดลงจนไม่รู้สึกตัว
หัวใจเต้นเร็วไม่เป็นจังหวะ
การแปลผลภาวะระบบทางเดินหายใจเป็นด่างเฉียบพลัน(Acute respiratoryalkalosis)
ค่า
pH สูงกว่าปกติ ค่าPaCO2 ต่ากว่าปกติ ส่วนค่า HCO3 ปกติ
อาการและอาการแสดงที่พบ
Hyperventilation
หัวใจเต้นเร็ว
ประสาทสัมผัสเปลี่ยนแปลง
การแปลผลภาวะการเผาผลาญเป็นกรดเฉียบพลัน (Acute metabolic acidosis)
ค่า pH และ
ค่าHCO3 ต่ากว่าปกติ ส่วนค่า PaCO2 ปกติ
อาการและอาการแสดงที่พบ
อาการปวดศีรษะ
คลื่นไส้
อาเจียน
ประสาทสัมผัส
เปลี่ยนไป
การแปลผลภาวะการเผาผลาญเป็นด่างเฉียบพลัน (Acute metabolic alkalosis)
ค่า pH
และค่า HCO3 สูงกว่าปกติ ส่วนค่า PaCO2 ปกติ
อาการและอาการแสดงที่พบ คล้ายกับ metabolic acidosis แต่ไม่มีอาการปวดศีรษะ
2) ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน (oxyhemoglobin) ต่อปริมาณ ฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
แปลผลต้องพิจารณาปริมาณเม็ดเลือดแดงและหรือค่าฮีโมโกลบินร่วมด้วย
arterial oxygen saturation (SPO2)
ปกติอยู่ระหว่าง 98 - 99 % หากวัด SPO2ได้น้อยกว่า 90% จาเป็นต้องได้รับการรักษา
3) การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)
ในเลือดค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้หญิง 11.5 – 16.5 gm % ผู้ชาย 13.0 - 18 gm %
สาเหตุของ hypoxia และหรือ hypoxemia
ต้องได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
7.4 สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
7.4.1 อาการไอ (Cough)
อธิบาย
เป็นกลไกการตอบสนองของร่างกายอยางหนึ่งต่อสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจ และเป็นกล ไก ป้องกันที่สำคัญของร่างกายในการกำจัดเชื้อโรค
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ฝุ่น ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้าที่สาลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทาให้การไอมากขึ้น
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ เช่น ไอเนื่องจากมีฝุ่นละอองมาก
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง มักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้ง ๆ หรือไอแบบมีเสมหะ โดยการฟังเสียงไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจานวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะด้วย
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
กระตุ้นให้ดื่มน้าอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ เพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่าย จ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
7.4.2 Hemoptysis
อาการไอเป็นเลือด
หมายถึง การมีเลือดออกจากทางเดินหายใจตั้งแต่กล่องเสียง
ลงไป ไม่รวมเลือดกาเดา (epistaxis)
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่า ๆ
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
อุบัติเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝ้าระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้นได้
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น
7.4.3 Hiccup การสะอึก
สาเหตุของอาการสะอึก
กินอิ่มมากเกินไป
ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทำให้เกิดแก๊ส (Carbonate)
ผลข้างเคียงยาบางชนิด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
อาการสะอึกส่วนใหญ่เป็นอาการชั่วคราว โดยทั่วไปอาการสะอึกจะหายได้เอง
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด เช่น น้ำมะนาว
แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
7.4.4 Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ
เช่น การทางานของหัวใจไม่ดี
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท
เช่น โรคไขสันหลังอักเสบ
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้นหรือปอดถูกทาลาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม ทุก 1 - 2 ชั่วโมง
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer) เพื่อให้หายใจสะดวก
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
7.4.5 Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
ลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุ
3) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บ
ตลอดเวลา อาจมีลักษณะในข้อ 2 ร่วมด้วย ถ้าการอักเสบลุกลามถึงเยื่อหุ้มปอด
4) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหัวใจ เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี (coronaryartery) ตีบแคบมักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณกระดูก sternum
2) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบมักเจ็บมากเมื่อเวลาหายใจเข้าลึก ๆ หรือเวลาไอ ทาให้ผู้ปุวยต้องหายใจตื้น ๆ
มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณหลังกระดูก อาจเจ็บตลอดเวลา และเจ็บมากเมื่อเวลาไอ5) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ
1) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบมักมีอาการเจ็บเฉพาะที่ และเจ็บเมื่อใช้มือ
กดที่บริเวณนั้น
6) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเส้นประสาท เช่น โรครากประสาทสันหลัง (posterior nerve root) จะปวดร้าวไปตามแขนงของประสาทintercostalnerve ซึ่งอยู่ตามแนวกระดูกซี่โครง และปวด ตลอดเวลา พบในโรคงูสวัด (herpes zoster)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
ประเมินหาสาเหตุของอาการ
จัดเตรียมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
สังเกตอาการ
7.5 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
7.5.1 อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล(anxiety)กระสับกระส่าย(restlessness)
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability to concentrate)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate) ขั้นรุนแรง และพบ bradycardia
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก (increase rate and depth respiration) ระยะ
ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น (shallow and slow respiration)
ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)
มีภาวะซีด (pallor)
มีอาการเขียวคล้า (cyanosis)
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุ้ม (clubbing)
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ (cardiac dysthymias)
อาการหายใจลาบาก (dyspnea)
7.5.2 วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทาให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ โดยวิธีการเพิ่มปริมาณ
ออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโปุงฟอง
เป็นการช่วยการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและ
หลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
7.5.3 ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง (severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน (acute myocardial infarction: MI)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว เช่น ผู้ปุวยหลัง โดนไฟไหม้
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทาผ่าตัด
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด คือ มีภาวะPaO2 < 60 mmHg หรือ SaO2 < 90 % เมื่อ หายใจเข้าในบรรยากาศปกติ
7.5.4 ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ป่วยที่หายใจเอ
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis)
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากparaquat
ขณะทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ ควรจากัดความเข้มข้นของออกซิเจนที่ใช้ในต่า ที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการติดไฟ ด้วยคุณสมบัติเคมีของออกซิเจนเอง
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจนโดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน บริเวณที่เกิดไฟไหม้จะทาให้ขบวนการติดไฟ เพิ่มความรุนแรงยิ่งขึ้น
7.5.5 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
7.8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
5.3 ประเมินผลคุณภาพการบริการ
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
7.7 ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
เป็นบทบาทของพยาบาลในการให้การพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยขณะได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติและต้องคานึงถึง
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ปุวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง (wall type) จากถังใช้ high-
pressure gas regulator ให้ถูกต้องและแน่นพอดี
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ากลั่นปลอดเชื้อ ให้ระดับน้ำอยู่ตรงตาแหน่งขีดที่กาหนดข้าง
กระบอกปูองกันไม่ให้ flow meter เสียหรือน้อยกว่าขีด ออกซิเจนต้องผ่านความชื้นจะไม่ทาให้ระคายเคือง เยื่อเมือกใน ช่องจมูกและคอ
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว เพื่อประเมินอาการผู้ป่วย
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter จะได้ปริมาณของออกซิเจนมีหน่วยเป็นลิตรต่อนาทีตามที่ ต้องการ สวมทอ่ สายยางของอุปกรณ์ให้ออกซิเจน กับท่อ flow meter
ล้างมือให้สะอาด สวมmask เพื่อปูองกันการนาเชื้อเข้าสู่ผู้ป่วย
หมุนปุ่มเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1 – 2 นาที เพื่อทดสอบว่า มีออกซิเจนไหลผ่าน และได้ปริมาณตามแผนการรักษาทุกครั้งก่อนสวมอุปกรณ์ให้ผู้ปุวย
กรณีให้ nasal cannula ให้ปฏิบัติ
7.1 ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง และทุก 8 ชั่วโมงเพื่อให้ช่องจมูกโล่ง ทาให้ได้รับ
ออกซิเจนปริมาณถูกต้อง
7.2 สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้างโดยให้ส่วนโค้งแนบไปกับโพรงจมูก คล้องสายกับใบหู
2 ข้าง ปรับสายให้พอดีไว้ใต้คาง หรืออ้อมรอบศีรษะ เพื่อให้อยู่ในตาแหน่งป้องกันเลื่อนหลุด
กรณีให้ mask ให้ปฏิบัติ
8.1 simple mask
8.2 ชนิดมีถุง
กรณีให้ oxygen hood (oxygen box)
9.1 ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
9.2 วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล่ระวังไม่ให้สายอยู่ใกล้หน้าเด็กให้ออกซิเจนในปริมาณ
พอเพียงและไม่ให้ออกซิเจนระคายเคืองตาเด็ก
กรณีให้ T- piece
10.1 ควรดูดเสมหะออกก่อนเพื่อให้ออกซิเจนไหลผ่านหลอดลมคอได้สะดวก
10.2 ต่อสาย T – piece ครอบท่อหลอดลมคอ จัดสายไม่ให้เกิดภาวะดึงรั้งกรณีผู้ปุวยที่ได้รับ ยาในรูปการสูดละอองยาเข้าทางเดินหายใจโดยตรง (aerosol therapy)
ลงบันทึกทางการพยาบาล
7.6 เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
อุปกรณ์และวิธีการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
การให้ออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย เป็นการเพิ่มระดับออกซิเจนในเลือดเพื่อแก้ไขภาวะการพร่อง ออกซิเจนเนื่องด้วยจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่ง
บทบาทพยาบาลในการพิจารณาให้ออกซิเจนนั้นขึ้นอยู่กับสภาวะ สุขภาพของผู้ป่วยวัตถุประสงค์ อุปกรณ์ และเครื่องมือ
ระบบการให้ออกซิเจน
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ (Low flow system)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula) หรือ nasal prongs
ข้อดี ผู้ป่วยสามารถดื่มน้าหรือรับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสายออก ไม่ค่อยรู้สึก อึดอัดหรือราคาญมากนัก และติดต่อสารกับผู้อื่นได้สะดวก
ข้อเสีย อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง ทาให้เยื่อบุจมูกบวมและมีน้ามูกออกมาอุดทำให้ท่อตันได้
(2) การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
(2.1) Simple mask
(2.2) Reservoir bag (partial rebreathing mask)
(2.3) Non rebreathing mask
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
(2) การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
(3) การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
(4) การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
(5) การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET)
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
1) ชนิดละอองโต (Bubble)
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
2) ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
การดูดเสมหะ (suction)
การส่งเสริม การได้รับออกซิเจนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายให้ปฏิบัติดังนี้
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอดโดยอาจมีการให้ออกซิเจน
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
การผ่อนคลายความวิตกกังวล
วิธีการดูดเสมหะ
คือการใช้สายยางชนิดดูดเสมหะสอดใส่เข้าทางเดินหายใจแล้วดูด เสมหะออกจากทางเดินหายใจ เพื่อช่วยผู้ป่วยที่ไม่สามารถไอเพื่อขับเสมหะออกได้
เครื่องดูดเสมหะ มีให้เลือกใช้อยู่ 2 ชนิด
เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนที่(mobilesuction)
ชนิดติดฝาผนัง (wall suction)
วิธีการดูดเสมหะผู้ป่วย มี 2 วิธี
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal) หรือปาก (oropharyngeal suction)
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ(Endotracheal) หรือทางท่อหลอดคอ (tracheostomy suction)
การพยาบาลผู้ป่วยด้านจิตใจก่อน/ ขณะ/ และหลังการดูดเสมหะ
โดย
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าจะมีการหายใจลาบากในขณะดูด
ทำการดูดเสมหะด้วยความเบามือ และนุ่มนวล
บอกให้ผู้ปุวยทราบก่อนว่า “จะทาการดูดเสมหะอย่างเบามือที่สุด ถ้าเจ็บหรือทนไม่ไหวให้ยก มือขึ้น” เพื่อให้ผู้ปุวยผ่อนคลาย และให้ความร่วมมือ
หลังดูดเสมหะเสร็จเช็ดทาความสะอาด เก็บของใช้ และจัดสิ่งแวดล้อมให้เรียบร้อย
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าในถึงวัตถุประสงค์และความจาเป็นของการดูดเสมหะ
พูดให้กาลังใจก่อนเดินออกจากเตียงผู้ป่วย
แสดงท่าทางสุภาพอ่อนโยน บ่งบอกถึงความเป็นมิตร และช่วยลดภาวะตื่นกลัว
การเก็บเสมหะ มี 2 วิธี
การเก็บเสมหะส่งตรวจ (Sputum examination)
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ (Sputum culture)
🥰🍰นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378 🌈💕☺️