Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสาธารณภัย - Coggle Diagram
การพยาบาลสาธารณภัย
บทบาทหน้าที่ของพยาบาล
ประเมินสถานการณ์สาธารณภัย
จัดทำแผนหรือแนวทางในการปฏิบัติ ร่วมกันทั้งภาครัฐและเอกชน
เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็น
ซ้อมแผนสาธารณภัย
ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
ให้การพยาบาล ณ จุดเกิดเหต
คุณสมบัติพยาบาลที่ปฏิบัติการพยาบาลสาธารณภัย
มีความรู้และประสบการณ์ทางการพยาบาลฉุกเฉิน การพยาบาลวิกฤติ การรักษาเบื้องต้น
มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปัญหาสุขภาพที่เกิด
จากสาธารณภัยประเภทตํางๆ มีความสามารถในการให้การพยาบาลได้ครอบคลุมทุกระยะของสาธารณภัย
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีภาวะผู้นำสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าอย่างถูกต้องเหมาะสม
มีทักษะการสื่อสารและการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน
มีวุฒิภาวะ รอบคอบ อดทน สุขภาพกายและจิตใจแข็งแรง
วงจรการเกิดสาธารณภัย
ระยะก่อนเกิดสาธารณภัยหรือระยะเตือนภัย (Pre-impact phase)
เป็นระยะที่ยังไมํมีสาธารณภัยเกิดขึ้นจนถึงระยะที่มีสิ่งบอกเหตุว่ากำลังจะมีภัยเกิดขึ้น เป็นชํวงเตรียมความพร้อม ในการปฏิบัติงานของหนํวยงานตํางๆ
ระยะเกิดสาธารณภัย (Impact phase)
เป็นชํวงเวลาที่มีสาธารณภัยเกิดขึ้นกํอให้เกิดความเสียหายแกํชีวิตและทรัพย์สิน เป็นชํวงเวลาที่ผู้ประสบภัยมักหลีกเลี่ยงได้ยาก หน่วยงานต่างๆต้องเริ่มให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
ระยะหลังเกิดสาธารณภัยหรือระยะฟื้นฟู (Post- impact phase)
วัตถุประสงค์การจัดการสาธารณภัย
หลีกเลี่ยงการสูญเสีย
ปกปูองทรัพย์สินให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด
รักษาสภาพแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจ
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลสาธารณภัย
ปูองกันและลดความรุนแรงที่จะเกิดจากสาธารณภัย
มุ่งเน้นการพยาบาลฉุกเฉินที่ให้แก่ผู้ประสบภัยจำนวนมากในขณะเกิดเหตุ
ช่วยฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัยและญาติทางร่างกายและจิตใจ
วัตถุประสงค์หลักสำคัญ
สามารถให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยในการประสานงานของสมาชิกในแต่ละหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานให้เป็นไปอยํางมีประสิทธิภาพ
พัฒนาบุคลากร เพื่อชํวยในการปฏิบัติการพยาบาลฉุกเฉิน มีประสิทธิภาพอยูํเสมอ
บทบาทของพยาบาลในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่คุกคามตํอชีวิตผู้ป่วย ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ โดยการเฝ้าระวังอาการอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่าง ๆ ของอวัยวะสำคัญของร่างกายให้คงไว้
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการติดเชื้อ
ประเภทของสาธารณภัย
แบํงตามความรุนแรงของภัยแบํงได๎เป็น 3 ระดับ
ความรุนแรงระดับ 1 สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสามารถ
ควบคุมสถานการณ์และจัดการระงับภัยได้โดยลำพัง
ความรุนแรงระดับ 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ซึ่งต้องอาศัยการสนับสนุนความช่วยเหลือจากหนํวยงานหลายสํวนราชการภายในเขตจังหวัดหรือจังหวัดใกล้เคียง
ความรุนแรงระดับ 3 สาธารณภัยขนาดใหญํที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จำเป็นต้อง
อาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ต๎องระดมความชํวยเหลือจากทุกสํวนราชการ
แบํงตามสาเหตุการเกิด
สาธารณภัยธรรมชาติ(Natural Disaster)
สภาพภูมิประเทศ (Topological disaster)
สภาพภูมิประเทศ (Topological disaster)
การเปลี่ยนแปลงของผิวโลก (Tectonic disaster)
ชีวภาพ (Biological disaster)
ผลกระทบจากการเกิดสาธารณภัย
ด้านสาธารณสุข
ผลกระทบตํอรํางกาย ในขณะเกิดภัยผู้คนย่อมต้องบาดเจ็บล้มตายไป แล้วแต่ความรุนแรงที่ได้รับ
ผลกระทบตํอจิตใจ ผู้ที่อยูํในเหตุการณ์ยํอมต้องตกใจ ตื่นกลัวกับภาพที่ได้เห็น หรือความเจ็บปวดทรมานที่ได้รับ
ระบบบริการสุขภาพ
ถ้าสถานบริการสุขภาพที่อยูํในพื้นที่หรือบริเวณใกล้เคียง ขาดประสิทธิภาพ บุคลากรหรืออุปกรณ์ไม่พร้อม จะ
เป็นปัจจัยที่เพิ่มความรุนแรงของปัญหา ถ้ามีสาธารณภัยขนาดใหญํ จะทำให้บริการตํางๆด๎อยประสิทธิภาพลดลง