Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ระบบทางเดินหายใจและกลไกการทำงาน
ระบบทางเดินหายใจ
เป็นระบบสาคัญระบบหนึ่งในร่างกายในการรักษาสมดุลก๊าซในกระแสเลือดโดยมีการทางานสอดคล้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจจะผ่านอวัยวะหลายอย่าง ที่มีหน้าที่แตกต่างกันดังนี้
จมูก ใช้เพื่อเป็นทางเข้าของอากาศ มีหน้าที่ในการดักจับฝุนละออง
โพรงจมูกและช่องคอ ทาหน้าที่ เพิ่มอุณหภูมิ ดักจับเชื้อโรค
ฝาปิดกล่องเสียง ทาหน้าที่กันไม่ให้อาหารที่เรากลืนตกลงสู่ ระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียง ใช้ในการสร้างเสียง และเป็นทางเดินหายใจ
หลอดคอ หลอดลม และ หลอดลมฝอย ทำหน้าที่ลำเลียงอากาศ ดักจับเชื้อโรค
ถุงลม ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส
กลไกการหายใจของมนุษย์
การหายใจเข้า (Inspiration) จะเกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัว ซึ่งจะทาให้กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้นในขณะเดียวกัน กระบังลมก็จะหดตัวและเลื่อนต่าลง จึงทาให้ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้นความ
ดันภายในช่องอกจะลดต่าลง
การหายใจออก (Expiration) จะเกิดขึ้นหลังจากการหายใจเข้า แล้วทาให้กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงมีการคลายตัว จึงทาให้กระดูกซี่โครงเลื่อนต่าลง
การหายใจในระดับเซลล์ เป็นกระบวนการทางเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างก๊าซออกซิเจนกับสารอาหาร
ภายในเซลล์ทาให้เกิด (adenosine triphosphate: ATP) ขึ้นเพื่อไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมแบบอัตโนมัติ ซึ่งเป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้ โดยสมองส่วน pons และmedulla เป็นตัวสร้างและส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
การควบคุมภายใต้อานาจจิตใจ ซึ่งเป็นการหายใจที่สามารถบังคับได้ โดยสมองส่วนหน้า เรียกว่า cerebral cortex hypothalamus สมองส่วนหลัง เรียกว่า cerebellum ทำให้เราสามารถควบคุม บังคับหรือปรับการหายใจให้เหมาะสมกับพฤติกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
แบ่งการทำงานเป็น 3 ส่วน
การทางานของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง มีหน้าที่หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน มีอายุขัยประมาณ 120 วัน
ความดันออกซิเจน ทาให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
การหมุนเวียน เพื่อกาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อเซลล์เนื้อเยื่อขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกออก จะมีการขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลับไปที่ปอด เพื่อทาการหายใจระบายออก
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง ภาวะดังกล่าวจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง มีผลให้ออกซิเจนมี
ระดับต่ากว่าปกติ
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง ภาวะดังกล่าวทาให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง การที่ร่างกายได้รับสารพิษจากอากาศ ทำให้ร่างกายต้องใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
การเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายหนัก ๆ ขณะออกกาลังกาย ร่างกายต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติอาจทำให้ได้รับออกซิเจนไม่ทั่วถึงและเพียงพอ
ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ การหายใจถี่ขึ้น ต้องการออกซิเจนมากขึ้น
อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย เวลารับประทานอาหารที่มีไขมันมากจะทาให้ปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำลง
ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ความเสื่อมเกิดขึ้นได้ทุกระบบในร่างกาย
การสูบบุหรี่ มีผลเสียต่อร่างกายในหลาย ๆ ระบบ เช่น กล่องเสียง หลอดเลือดในสมอง ถุงลม และปอดทำให้ความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์ การดื่มในปริมาณมากเกินควรจะส่งผลให้ร่างกายเกิดผลเสียแบบเฉียบพลับและเรื้อรัง ซึ่งส่งผลต่อตับ สมอง หรือหัวใจและหลอดเลือด
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ ระยะแรกของเซลล์พร่องออกซิเจนอย่างอ่อน สังเกตพบ ผู้ปุวยมีอาการหายใจไม่สะดวก
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก เพื่อปรับชดเชย
ระบบประสาทส่วนกลาง สังเกตและประเมินพบ ความรู้สึกตัวของผู้ปุวยเปลี่ยนแปลงกระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
ระบบผิวหนัง ระยะแรก พบว่า ผิวหนังผู้ปุวยเย็น ซีด เพราะร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบทางเดินอาหาร ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนในระยะแรก
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG) เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทางานของปอด เพื่อประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซและการหายใจ
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation) ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน (oxyhemoglobin)
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb) ในเลือดค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้หญิง 11.5 – 16.5 gm % (กรัมเปอร์เซนต์) และในผู้ชาย 13.0 - 18 gm % (กรัมเปอร์เซนต์)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough) เป็นกลไกการตอบสนองของรางกายอย่างหนึ่งต่อสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจ และเป็นกลไก ปองกันที่สาคัญของรางกายในการกำจัดเชื้อโรค เสมหะ
Hemoptysis อาการไอเป็นเลือด หมายถึง การมีเลือดออกจากทางเดินหายใจตั้งแต่กล่องเสียงลงไป ไม่รวมเลือดกาเดา (epistaxis) มีปริมาณเลือดเห็นได้ชัดเจน คือ มากกว่า 2 มิลลิลิตรขึ้นไป
Hiccup การสะอึก เป็นอาการที่เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อกระบังลมที่อยู่ตรงรอยต่อระหว่างช่องปอดและช่องท้อง ที่เกิดขึ้นเองโดยไม่สามารถควบคุมได้
Dyspnea อาการหายใจลาบาก หมายถึง อาการซึ่งผู้ปุวยต้องใช้ความพยายามหรือใช้แรงในการหายใจ การหายใจลาบากไม่มีความสัมพันธ์กับความเร็วของการหายใจ
Chest pain อาการเจ็บหน้าอก มีลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุดังนี้
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีอาการเจ็บเฉพาะที่
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหัวใจ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเส้นประสาท
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
ความอ่อนเพลีย
ระดับการมีสมาธิลดลง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ปุวยโรคถุงลมโปุงฟอง
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทาให้ออกซิเจนในเลือดต่า โดยวิธีการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
เป็นการช่วยการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว เช่น ผู้ปุวยหลังโดนไฟไหม้ เป็นต้น
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ปุวยที่หายใจเอง เมื่อค่า PaO2 ≥ 60 มม.ปรอท โดยที่ค่า PaCO2 สูงกว่าภาวะปกติ
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซิเจนเป็นพิษ (oxygen toxicity) หรือกดการทำงานของ cilia
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ความผิดปกติของสีผิว
ระดับความรู้สึกตัว
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ตรวจดูสายยาง
ขวดทาความชื้นมีน้าอยู่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไป
ออกซิเจนไม่รั่วจากขวดทาน้ากลั่นที่ทาความชื้น
ถ้าเป็นออกซิเจนถัง จะต้องให้มีออกซิเจนอยู่เสมอ
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
การจัดท่านอน ท่านั่ง
ดูดเสมหะที่ค้างตามท่าทางเดินหายใจเป็นระยะๆ
สอนการไออย่างถูกวิธี
กระตุ้นให้ได้รับน้าอย่างเพียงพอ
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ให้จิบน้าบ่อยๆ
ถ้าเจ็บคอ ให้ล้างปากด้วยน้ายา
ทาริมฝีปากด้วย กลีเซอรีน บอแรกซ์
ทาความสะอาดช่องจมูก
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
บอกประโยชน์ของการได้รับออกซิเจน
พยาบาลควรมีความชำนาญในการใช้เครื่องมือ
แนะนำ อธิบายให้ผู้ป่วยรู้จักเครื่องมือต่างๆได้ง่าย
ดูแลควบคุมอัตราการไหของออกซิเจนให้เพียงพอ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่า (Low flow system) ผู้ปุวยจะได้รับออกซิเจนเพียงบางส่วน และได้จากการหายใจเอาออกซิเจนในบรรยากาศไปผสม
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula) หรือ nasal prongs
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system) ผู้ป่วยจะได้รับออกซิเจนทั้งหมดจากอุปกรณ์โดยไม่ต้องดึงอากาศไปผสม ความเข้มข้นของออกซิเจนกำหนดได้จากอุปกรณ์
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET)
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
ชนิดละอองโต (Bubble) ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ
30 –40 % สายให้ก๊าซมีขนาดเล็ก น้าจะปุดเป็นฟองเมื่อเปิดให้กับผู้ปุวย มักใช้กับ oxygen cannula, simple face mask, และ partial rebreathing mask
ชนิดละอองฝอย (Jet) ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย ผู้ปุวยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่า (hypoxia) ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (highfowler’s position) ในท่านี้จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
การบริหารการหายใจ วิธีการหายใจจะช่วยให้การระบายอากาศหายใจดีขึ้น มีประโยชน์ทั้งในผู้ป่วยที่มีปัญหาการหายใจชนิดปอดถูกกำจัด
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)
การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
การดูดเสมหะ (suction) ช่วยทาให้ทางเดินหายใจโล่งออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายได้เต็มที่และไม่เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
วิธีการดูดเสมหะผู้ปุวย มี 2 วิธี
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal) หรือปาก (oropharyngeal suction) เป็นการดูดเสมหะผ่านทางจมูก หรือ nasal airway ซึ่งมีลักษณะเป็นท่อยาวภายในกลวง
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ (Endotracheal) หรือ ท างท่อ ห ล อ ด ค อ(tracheostomy suction) เป็นการดูดเสมหผ่านท่อช่วยหายใจ Endotracheal
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน การให้ออกซิเจนอุปกรณ์ที่ใช้มีโอกาสก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ เช่น น้ำกลั่นในขวด humidifier สายที่นาออกซิเจนมาสู่ผู้ป่วย
อาจทาให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้ เนื่องจากออกซิเจนเป็นก๊าซแห้ง
อาจเกิดการทาลายเนื้อเยื่อในปอด ออกซิเจนจะก่อพิษในปอดได้หากได้รับในระยะเวลานานคือ 24 – 48 ชั่วโมง และความเข้มข้นของก๊าซ มากกว่าร้อยละ 60
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias) คือ การได้รับออกซิเจนความเข้มข้นสูงเป็นระยะเวลานาน ๆ จะเกิดกับหลอดเลือดหลังเลนส์เปลี่ยนแปลง
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ