Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นด้านปัจจุบันพยาบาล, นลินนิภา ประโคทานัง 601410033-0…
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นด้านปัจจุบันพยาบาล
การปฐมพยาบาล= การกระทำใดๆเพื่อช่วยเหลือผู้บาดเจ็บหรือpt.ที่เกิดขึ้นอย่างกระทันหัน ให้พ้นขีดอันตราย หรืออาการทุเลาลงก่นส่ง รพ.
การพยาบาลฉุกเฉิน = การช่วยเหลือpt./ผู้บาดเจ็บทางร่างกาย อารมณ์เบื้องต้น โดยพยาบาล/บุคคลากรทางการแพทย์ที่ผ่านการอบรมจนเกิดความชำนาญก่อนส่งรพ.
ความสำคัญของการพยาบาลฉุกเฉิน
รักษาชีวิตของpt./ผู้บาดเจ็บ
ป้องกันไม่ให้pt./ผู้บาดเจ็บมีอาการมาก/หนักกว่าเดิม
บรรเทา/ลดความเจ็บปวดทรมาน
ส่งต่อpt./ผู้บาดเจ็บได้อย่างปลอดภัย
หน้าที่หลักของพยาบาล
1.ประเมิน/จำแนกpt.
2.จัดการกับอาการรบกวนต่างๆ
3.ดูแลความปลอดภัย
4.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการรักษาพยาบาล
5.ให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง
6.สนับสนุนการดูแลสุขภาพตนเองของpt.
7.สร้างความพึงพอใจแก่pt.
การจำแนกผู้ป่วยฉุกเฉินตามสาเหตุ
Trauma =pt.ฉุกเฉินที่เกิดจากอุบัติเหตุ การทำร้ายร่างกาย
Non-trauma =pt.ป่วยจากสาเหตุอื่นๆ
การจำแนกผู้ป่วยฉุกเฉิน ตามแนวทางการคัดแยกของ ESI ver.4
ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต(แดง)
เปิดทางเดินหายใจ
ช่วยการหายใจ
ช่วยระบบไหลเวียนเลือด
ประเมิน ให้การรักษาเกี่ยวกับการรู้ตัวที่ลดลงเฉียบพลัน
ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน(เหลือง)
ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง(เขียว)
ผู้ป่วยทั่วไป
ผู้รับบริสาธารณสุขอื่น
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
1.การตรวจระดับการรู้สติ
เขย่าตัว
ปลุกเรียก หากไม่มีการตอบสนอง ทำขั้นตอนที่ 2
คลำชีพจร
ใช้เวลาไม่น้อยกว่า5secแต่ไม่เกิน 10sec คลำชีพจรที่คอ ใช้นิ้วชี้วางบนลูกกระเดือก แล้วเลื่อนลงมาตามแนวลหอดลม ไปถึงร่องด้านข้างที่อยู่ระหว่างหลอดลมกับกล้ามเนื้อคอ
การกดหน้าอก วางมือกลางกระดูกsternum ระหว่างหัวนม กดหน้าอกลึกไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว(5ซม.)และไม่เกิน 2.4นิ้ว(6ซม. ) อัตราการกด 100-120 ครั้ง/นาที
การช่วยชีวิตขั้นสูง
ช็อก,ชัก,หมดสติ เป็นลม
ประเภทของการหมดสติ
หมดสติแต่หายใจ
หมดสติหายใจติดขัด หยุดหายใจ
การตรวจ
ตรวจลูตา ใช้สำลี ชายผ้าเขี่ยตาขาว/ขนตา
ดูลักษณะ ขนาดรูม่านตา
เล็กลงเท่ากัน=ไม่รุนแรง
ไม่หดเลย=รุนแรง
ม่านตา2ข้างไม่เท่ากัน=ก้อนเลือดออกในสมอง
ประเมิน GCS
การช่วยเหลือการพยาบาลเบื้องต้น
ประเมินสาเหตุของการหมดสติ เช่นตรวจระดับน้ำตาล< 70mg/dlให้50% glucoses IV หมดสติ+กินสารพิษ ล้างท้องด้วยNSS 500 ml. (ยกเว้นมีข้อห้าม)
ให้ O2+สารน้ำตามข้อบ่งชี้
จัดท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ
งดน้ำ อาหารทางปาก
คลายเสื้อผ้า ให้หลวม
ให้ความอบอุ่นร่างกาย
ส่งต่อสถานพยาบาลที่มีความพร้อม
อาการของช็อค
1.กระสับกระส่าย ซีด
2.หนาว กระหายน้ำมอ่อนเพลีย
3.คลื่นใส้ อาเจียน
4.ชีพจรเบา เร็ว ความดันตก
5.หายใจเร็วถี่ ไม่สม่ำเสมอ
6.มือเท้าเย็น เหงื่อออก ปัสสาวะน้อย
7.หมดสติ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจเสียชีวิต
ช็อค = สภาวะที่มีการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ
สาเหตุ
การอุดกั้นนอกหังใจ (Obstructive shock)
จากโรคหัวใจ (Cardiogenic shock)
จากปริมาณเลือดลดลง (Distributive Shock)
จากร่าสูญเสียน้ำและเกลือแร่(Hypovolemic shock)
จำแนกประเภทของช็อค
1.Hypovolemic shock
2.septic shock
3.Cardiogenic shock
4.Neurogenic shock
5.Endocrinic shock
6.Anaphylactic shock
ได้รับสารพิษ
งูกัด สัตว์กัด ผึ้ง ต่อ แตน ต่อย
ไฟฟ้าช็อต,ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
ชัก=การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นชั่วขณะ เนื่องจากมีความผิดปกติของสมอง
สาเหตุ ชัก
1.อาจเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม บาดเจ็บระหว่างการคลอด หลอดเลือดสมอง
2.รอยโรคของสมองโดยตรง ได้แก่สมองกระทบกระเทือน
3.ความผิดปกติทางชีวเคมี
การช่วยเหลือเบื้องต้น
1.ประเมิน CABs
2.ดูระบบหายใจ
3.นอนในที่ปลอดภัย
4.ให้สารน้ำ
5.ชักจากไข้สูงเช็ดตัวลดไข้
เป็นลม= ภาวะหมดสติชั่วคราว เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
สาเหตุ = เหนื่อยจัด หิวจัด เครียด วิตกกังวล
ช่วยเหลือ
ประเมิน CABs
อยู่ที่อากาศถ่ายเทสะดวก
นอนราบ ยกปลายเท้าสูง
คลายเสื้อผ้าให้หลวม
นลินนิภา ประโคทานัง 601410033-0