Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน (Conceptual Framework For…
บทที 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน (Conceptual Framework For Financial Reporting)
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
อธิบายวัตถุประสงค์และสถานะของกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
เข้าใจวัตถุประสงค์ของรายงานทางการเงิน
อธิบายลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงิน
อธิบายข้อสมมติทางการเงิน
วัตถุประสงค์ของกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน (กรอบแนวคิด) เป็นเกณฑ์กาเงินสำหรับผู้ใช้ภายนอกอันประกอบด้วยหลายฝ่าย
วัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงิน
คือ การให้ข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับกิจการที่เสนอรายงานที่มีประโยชน์ต่อผู้ลงทุน ผู้ให้กูยืม หรือเจ้าหนี้อื่นทั้งในปัจจุบันและในอนาคต มีประเด็นสำคัญ 2 ประการ ดังนี้
รายงานทางการเงินให้ข้อมูลทางการเงิน (Financial information)
เป็นประโยชน์ต่อผู้ลงทุน(Investors) และผู้ให้กู้ยืม(Creditors) ทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ลักษณะ
ลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงิน (Qualitative characteristics)
ช่วยกำหนดให้ข้อมูลทางการทางการเงินมีประโยชน์ กรอบแนวคิดระบุว่า ข้อมูลทางการเงินจะมีประโยชน์ได้เมื่อข้อมูลเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรมม
ลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน (Fundamental qualitative characteristics)
ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ(Relevance)
ข้อมูลทางการเงินที่มีคุณค่าทางการพยากรณ์ (Predictive value) = เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถพยากรณ์ผลลัพธ์ในอนาคตได้
ความมีสาระสำคัญ(Materiality) = ข้อมูลมีสาระสำคัญเมื่อหากการละเว้นการแสดงข้อมูลหรือแสดงผิดอาจมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้ ความมีสาระสำคัญอิงกับลักษณะหรือขนาดของรายงาน(จำนวนเงิน)
ข้อมูลทางการเงินที่มีคุณค่าทางการยืนยัน (Confirmative value) = ควรให้ข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับการประเมินในอดีตได้
ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Faithful representation) = ข้อมูลทางการเงินที่มีประโยชน์ต้องไม่เป็นเพียวตัวแทนปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับการตัดสินใจแต่ต้องเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมนำเสนอด้วย
ความครบถ้วน(Completeness) = ภาพที่กิจการรวมข้อมูลทั้งหมดที่จำเป็นเพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจปรากฏการณ์รวมของรายการนั้นรวมถึงการให้ความหมายและคำอธิบายที่จำเป็นทั้งหมด
ความเป็นกลาง(Neutral) = ภาพที่ปราศจากอคติในการเลือกหรือนำเสนอข้อมูลทางการเงิน ไม่มีการให้ความสำคัญ ไม่มีการเน้น หรือไม่ถูกตกแต่ง
การปราศจากข้อผิดพลาด(Free from error) = ไม่ได้หมายความว่า ถูกต้องสมบูรณ์ทุกลักษณะ แต่การประมาณการนั้นต้องมีกาอธิบายชัดเจนว่าเงินนั้นมาจากไหนปะยุกต์กระบวนการที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาประมาณการนั้น
ลักษณะคุณภาพเสริม (Enhancing qualitative characteristics)
ความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ (Verifiability) = จะช่วยให้ความเชื่อมั่นแก่ผู้ใช้ว่าข้อมูลเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม ความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้
ความทันเวลา (Timeliness) = การมีข้อมูลพร้อมให้ผู้ใช้ตัดสินใจทันเวลา การย้อนอดีตนานขึ้นทำให่ข้อมูลนั้นมีประโยชน์น้อยลง
ความสามารถเปรียบเทียบได้ (Comparability) = ข้อมูลเกี่ยวกับที่เสนอรายงานจะมีประโยชน์มากขึ้น หากข้อมูลนั้นสามารถเปรีบเทียบได้กับข้อมูลที่คล้ายกันเกี่ยวกับกิจการอื่น เปรียบเทียบได้กับข้อมูลที่คล้ายกันกิจการเดียวกันสำหรับรอบเวลาอื่น
ความสามารถเข้าใจได้ (Understandaility) = การจัดประเภท การกำหนดลักษณะ และการนำเสนออย่างชัดเจนและกระชับทำให้ข้อมูลนั้นสามารถเข้าใจได้
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงินกับแม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552)
1.หลักความระมัดระวัง(Prudent) = ไม่ได้กล่าวถึงในฉบับปัจจุบันแล้ว เนื่องจากในมาตรฐานทุกฉบับจะเน้นความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ (Highly probable) สำหรับการรับรู้รายการอยู่แล้ว
2.ความเชื่อถือ (Reliability) =เนื่องจากมาตรฐานใหม่มีการใช้มูลค่ายุติธรรมมากขึ้นซึ่งมูลค่ายุติธรรมถือว่าเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมแต่ไม่ได้เป็นภาพที่สมบูรณ์
3.เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ(Substance over form) = ไม่ได้กล่าวถึงลักษณะโดยตรง แต่ลักษณะดังกล่าวรวมอยู่ในความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมแล้วเช่นกัน
ข้อสมมติทางการบัญชีเหลือเพียงข้อเดียวคือการดำเนินงานต่อเนื่อง อธิบายว่า "งบการเงินจัดทำขึ้นตามข้อสมมติที่ว่ากิจการจะดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและดำรงอยู่ต่อไปในอนาคตที่คาดการณ์ได้ ดังนั้น จึงสมมติว่ากิจการไม่เจตนาหรือมีความจำเป็นดังกล่าว งบการเงินอาจต้องจัดทำโดยใช้เกณฑ์อืานและต้องเปิดเผยเกณฑ์นั้นในงบการเงิน
ฐานะการเงิน
สินทรัพย์ (Assets) = ทรัพยากรที่อยู่ในความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกล่าวเป็นผลของเหตุกรรณ์ในอดีต ซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต ดังนี้
อยู่ในความควบคุมของกิจการ นิยามใช้คำว่า" ควบคุม " ไม่ใช่ตวามเป็ยเจ้าของ สินทรัพย์หลายประเภทเกี่ยวข้องกับสิทธิทางกฏหมาย
เป็นผลจากเหตุการณ์ในอดีต ผลจากเหตุกาณ์ในอดีต
ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของสินทรัพย์ นิยามไว้ว่า ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของสินทรัพย์
กิจการอาจนำสินทรัพย์ที่มีอยู่ไปแลกกับสินทรัพย์อื่นที่ทำให้กระแสเงินสดสุทธิของกิจการเพิ่มขึ้น (Commercial substance)
กิจการอาจนำสินทรัพย์ไปชำระหนี้สิน
กิจการใช้สินทรัพย์นั้นร่วมกับสินทรัพย์รายการอื่นเพื่อผลิตสินค้าหรือบริการที่จะนำไปขาย
กิจการอาจนำสินทรัพย์มาจ่ายให้กับเจ้าของ
สินทรัพย์หลายประเภทเป็นสินทรัพย์ที่มีรูปแบบทางกายภาพ
(Physical substance)
หนี้สิน (Liabilities) หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ซึ่งเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตโดยการชำระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่งผลให้กิจการสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
ภาระผูกพัน ครอบคลุมถึงทั้งภาระผูกพันทางกฏหมาย (Legal obligation) หรืออาจเกิดจากการดำเนินงานตามปกติของกิจการ
เป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต
การสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจไปเพื่อชำระภาระูกพัน
ส่วนของเจ้าของ ( Equity) เป็นส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินทั้งสิ้นออกแล้ว ส่วนของเจ้าของยังคงต้องแยกแสดงเป็นรายการย่อยในงบแสดงฐานะทางการเงิน
การวัดมูลค่าองค์ประกอบของงบการเงิน
2.ราคาทุนปัจจุบัน
มูลค่าที่จะได้รับ (จ่าย)
1.ราคาทุน
มูลค่าปัจจุบัน
การรับรู้รายการขององค์ประกอบของงบการเงิน
การรับรู้รายการ (Recognition) = การรวมรายการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของงบแสดงฐานะทางการเงินหรืองบกำไรขาดทุน
การรับรู้รายการของสินทรัพย์
มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต
สินทรัพย์นั้นมีราคาทุนหรือมูลค่าทีสามารถวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ
การรับรู้รายการของหนี้สิน
มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กิจการต้องสูญเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของทรัพยากรเพื่อชำระภาระผูกพันในปัจจุบัน
มูลค่าของภาระผูกพันที่ต้องชำระนั้นสามารถวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ
การรับรู้รายการของรายได้
การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์หรือการลดลงของหนี้สิน
เมื่อกิจการสามารถวัดค่าของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างน่าเชือถือ เช่น สินทรัพย์สุทธิเพิ่มขึ้นเมื่อกิจการขายสินค้า หรือหนี้สินลดลงเมื่อเจ้าหนี้ยกหนี้ให้
การรับรู้รายการของค่าใช้จ่าย
การลดลงของสินทรัพย์หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สิน
เมื่อกิจการสามารถวัดค่าของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างน่าเชือถือ
กิจการต้องรับรู้ต่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนเมื่อประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตลดลงเนื่องจาก
การดำเนินงาน = กำไรเป็นเกณฑ์ทั่วไปที่ใช้วัดผลการดำเนินงาน องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดกำไรคือรายได้และค่าใช้จ่าย
รายได้ (Income)
ค่าใช้จ่าย (Expense)
มูลค่ายุติธรรม(ปรับปรุง 2562) เป็นราคาที่จะได้รับจากการขายสินทรัพย์ หรือจะจ่ายเพื่อโอนหนี้สินในรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผู้ร่วมตลาด ณ วันที่วัดมูลค่า
ผู้ร่วมตลาด
ราคาที่จะได้รับจากการขายสินทรัพย์หรือจ่ายเพื่อโอนหนี้สิน
ข้อมูลระดับ 2 เป็นราคาเสนอซื้อขายสินทรัพย์หรือหนี้สินที่คล้ายคลึงกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง (Observable market prices for similar assets or liabilities in active markets) กิจการจะใชข้อมูลระดับ 2 เมื่อไม่มีข้อมูลระดับ 1
ข้อมูลระดับ 3 เป็นการประมาณการจากกิจการเอง เมื่อไม่มีข้อมูลระดับ 1 และ 2
ข้อมูลระดับ 1 เป็นราคาเสนอซื้อขายสินค้าทรัพย์ในตลาดี่มีสภาพคล่อง (Quoted price in active markets) เป็นราคาที่ไม่ต้องปรับปรุง
รายการทีีเกิดขึนอยู่ในสภาพปกติ
แนวคิดเรื่องทุนและการรักษาระดับทุน
แนวคิดเรื่องทุน
ทุนทางกายภาพ
ทุนทางการเงิน
แนวคิดเรื่องการรักษาระดับทุน = กิจการต้องรักษาระดับไว้ หากกิจการเลือกแนวคิดรักษาระดับทุนทางกายภาพ กิจการต้องใช้ราคาทุนปัจจุบันเป็นเกณฑ์ในการวีดมูลค่า
งบการเงิน
ส่วนของเจ้าของ
รายได้และค่าใช้จ่าย รวมถึงผลกำไรและขาดทุน
หนี้สิน
เงินทุนที่ได้รับจากผู้เป็นเจ้าของและการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้เป็นเจ้าของฐานะที่เป็นเจ้าของ
สินทรัพย์
เงินสด
จากข้อมูลทางการเงินที่จำเป็นต้องมีในงบการเงิน 6 รายการ
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของสำหรับงวด
งบกระแสเงินสดสำหรับงวด
งบกำไรขาดทุนและกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับงวด
หมายเหตุประกอบงบการเงิน เอาข้อมูลเปรียบเทียบของงวดก่อน
งบแสดงฐานะการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดก่อน
งบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
สินทรัพย์ชีวภาพ
ประมาณหนี้สิน
สินค้าคงเหลือ
อสังหาริมทรพย์เพื่อการลงทุน
การจัดประเภทสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน
2.ถือไว้โดยมีวัตถุประสงค์เบื้องต้น
3.คาดว่าจะได้รับประโยชน์ภายในระยะเวลา 12 เดือน
1.คาดว่าจะได้รับประโยชน์
4.สินทรัพย์ดังกล่าวเป็นเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดและไม่มีข้อจำกัดในการแลกเปลี่ยนหรือชำระหนี้สินภายใน 12 เดิอน