Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่มีความหลากหลายวัฒนธรรมในกลุ่มทวีปแอฟริกาประเทศอียิปต์ -…
การดูแลผู้ป่วยที่มีความหลากหลายวัฒนธรรมในกลุ่มทวีปแอฟริกาประเทศอียิปต์
คนอียิปต์ที่มีการศึกษาดี จะสามารถพูดภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่นๆได้ คนอียิปต์เป็นคนที่มีอัธยาศัยดี และมักยินดีที่มีนักม่องเที่ยวมาเยือนประเทศของตน ในการสนทนาคนอียิปต์จะสบตาคู่สนทนาอยู่เสมอเพื่อเป็นการให้เกียรติ
วิธีการสื่อสารกับผู้ป่วย
ใช้ล่ามภาษา
ใช้ภาษากายหรือสัญลักษณ์ต่างๆ
วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย
สตรี
: สวมผ้าโพกหัวหรือสะพายไหล่ของสตรีซึ่งคลุมเฉพาะศีรษะ เปิดเผยใบหน้า และมีบางกลุ่มเปิดเผยให้เห็นแค่ดวงตา การใส่ผ้าคลุมศีรษะเป็นการแสดงถึงความถ่อมตน
บุรุษ
: คนที่มีอาชีพครูสอนศาสนาแต่งชุดโต๊ปและใส้จะสวมสารบานไว้บนหัว ส่วนใหญ่จะสวมเสื้อเชิต กางเกง และรองเท้าหนังโดยเฉพาะคนที่ทำงานในงานบริการ
การดูแลผู้ป่วย
ระวังเรื่องขอบเขตหญิงชายระหว่างผู้ป่วยและคนดูแลลผู้ป่วย
คนที่เฝ้าไข้ต้องให้กำลังใจคนป่วย อย่าดุอย่าตะวาดผู้ป่วย
คนที่ดูแลผู้ป่วยต้องเตือนผู้ป่วยให้ละหมาดให้ครบ
คนที่เฝ้าผู้ป่วยต้องเตือนให้ผู้ป่วยอ่านอัลกุรอานอย่างสม่ำเสมอ
แนวคิดสำคัญ
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพทั่วไป
ห้ามทำแท้ง
การขลิบอวัยวะเพศชาย
ห้ามฆ่าตัวตายหรือการุนฆาต
ไม่สนับสนุนให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายหนือมีภาวะเป็นผักใส่เตรื่องช่วยหายใจ
ห้ามผ่าชันสูตรศพ
หลังคลอดจะมีการขอรกไปฝัง
การให้บริการทางการพยาบาลและการแพทย์
ไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
หากต้องการตรวจผู้หญิงมุสลิมควรมีเสื้อคลุมที่ยาว สามารถปกปิดร่างกายได้ทั่ว หากหาให้ไม่ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการผู้ป่วยเพศตรงข้าม ควรให้ญาตผู้ป่วยเข้าไปด้วย
การดูแลทางจิตวิญญาณ
การจัดสถานที่ให้ละหมาด ต้องทำความสะอาดและจัดอ่างน้ำสำหรับชะล้าง
ข้อจำกัด
ผู้ที่มีข้อจำกัดทางด้านปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด ผู้หญิงที่มีประจำเดือน ไม่ต้องทำละหมาดก็ได้
การทำละหมาดต้องหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ
เอาสัญลักษณะทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
การรับประทานอาหาร
อาหารเป็นอาหารฮาลา ไม่มีหมู ไม่มีแอลกอฮอล์
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน
ยกเว้น
ผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหาร ควารมีการเตรียมสถานที่ในการล้างมือแก่ผู้ป่วยมุสลิม โดยการรับประทานอาหารนั้นจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่ม
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การตัดสินใจในการดูแลผู้ป่วยต้องปรึกษาญาติก่อนทุกครั้ง
ต้องให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายไม่มีความเจ็บป่วย
ศพควรถูกฝังทันทีหลังเสียชีวิต และการเผาศพเป็นเรื่องต้องห้าม
สิ่งที่ห้ามรับประทาน
ซากสัตว์หรือสัตว์ที่ตายเองโดยไม่ได้ถูกเชือด
เลือด เพราะเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจต่อความรู้สึกมนุษย์
เนื้อหมู โดยมองว่าหมูชอบอยู่ในที่สกปรก ไม่เหมาะกับการนำมาบริโภค
การให้ผู้ป่วยชาวอียิปต์รับประทานอาหารควรคำนึง
สัตว์ที่นำมาทำอาหาร ต้องผ่านกระบวนการเชือดที่ถูกต้อง
วิธีการได้มาของอาหารต้องถูกต้อง
ต้องเป็นอาหารที่สะอาด มีประโยชน์ และไม่เจือปนสิ่งสกปรก
อุปกรณ์ ภาชนะบรรจุอาหาร และสถานที่ในการประกอบอาหารต้องสะอาด
การดูแลสุขภาพในช่วงถือศีลอด
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ควรปรึกษาแพทย์ให้ปรับเวลาการให้ยาให้เหมาะสม และแนะนำเรื่องการปฏิบัติตัวในช่วงถือศีลอด เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปตลอดทั้งช่วงเดือนรอมฏอน
ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
การถือศีลอด ไม่ได้ส่งผลต่อโรคกระเพาะอาหารเพิ่มขึ้น แต่ต้องงดอาหารรสจัด งดอาหารประเภทมีแก๊ส เพราะมีผลต่อแผลในกระเพาะอาหาร ควรเคี้ยวช้าๆ รับประทานอาหารแต่พออิ่ม
การปรับยาของผู้ป่วยโรคประจำตัวในช่วงรอมฎอน
เปลี่ยนเวลากินยา ยาเช้าให้ไปกินเย็น ยาเย็นให้ไปกินหัวรุ่ง
ปรับยาเบาหวาน กินก่อนอาหาร และลดปริมาณยาลงครึ่งนึง
ปรับยาฉีด ยาฉีดเช้าไปฉีดเย็น ยาฉีดเย็นให้ไปฉีดหัวรุ่ง แต่ลดลงเหลือแต่ครึ่งdose การปรับยาควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวเท่านั้น
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
การถืีอศีลอดไม่เกี่ยวข้องกับความดันโลหิตหรือโรคแทรกซ้อน ผู้ป่วยสามารถถือศีลอดได้ แต่ควรได้รับคำปรึกษาจากแพทย์ประจำเรื่องปรับเปลี่ยนยาความดัน
การกินยาความดัน สามารถไปรับประทานเป็นมื้อเย็นแทนได้
หลีกเลี่ยงอาหารเค็ม
ป้องกัยภาวะน้ำตาลต่ำในผู้ป่วยเบาหวานช่วงรอมฎอน
ผู้ป่วยเบาหวานควรปรึกษาแพทย์เพื่อปรับยาในช่วงรอมฎอน และงดออกกำลังกายหนักๆ หรือการละหมาดก็เป็นการออกกำลังกายแบบหนึ่ง
ป้องกันภาวะน้ำตาลสูงในผู้ป่วยเบาหวานช่วงรอมฎอน
ผู้ป่วยเบาหวานควรปรึกษาแพทย์เพื่อปรับยาในช่วงรอมฎอน หลีกเลี่ยงการรับประทานทีละมากๆ
ข้อเสนอแนะและสิ่งที่ได้
เพื่อนๆนำเสนอดี และเข้าใจง่าย คลิปน่าสนใจ
สิ่งที่ได้ คือ ได้รู้ถึงแนวคิดและการพยาบาลต่างๆที่พยาบาลควรปฏิบัติต่อผู้ปวยชวามุสลิมในประเทศอียิปต์ว่าควรปฏิบัติตัวอย่างไรบ้างให้ถูกต้องต่อความเชื่อของผู้ป่วย