Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Seizure (อาการชัก), นางสาวณัฐชยา ฮ้อเจริญทรัพย์ เลขที่ 22 ห้อง 3A…
Seizure (อาการชัก)
-
พยาธิสภาพ
อาการชัก (seizure) คือ อาการที่เกิดจากภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเฉียบพลันของการทำงานของเซลล์
สมองโดยมีการปลดปล่อยคลื่นไฟฟ้าที่ผิดปกติ (epileptiform activity) ออกมาจากเซลล์สมองจำนวนมากพร้อมๆ กัน จากสมองจุดใดจุดหนึ่งหรือทั้งหมด
แบ่งเป็น 2 ประเภท
- อาการชักที่มีปัจจัยกระตุ้น (provoked seizure) หมายถึงอาการชักที่เกิดจากมีปัจจัยกระตุ้น ทำให้
seizure threshold ลดลงชั่วคราวโดยอาการชักจะไม่เกิดขึ้นซ้ำอีก ถ้าปัจจัยกระตุ้นนั้นหมดไป
-
CNS insults ได้แก่ แอลกอฮอล์หรือการหยุดยา
กลุ่ม benzodiazepine การบาดเจ็บของศีรษะ การติดเชื้อเยื่อหุ้มสมอง
- อาการชักที่ไม่มีปัจจัยกระตุ้น (unprovoked seizure) หมายถึงอากาการชักที่เกิดขึ้น โดยไม่มีปัจจัยกระตุ้น อาจเป็นการครั้งแรกของผู้ป่วยลมชัก ดังนั้นจึงมีโอกาสเกิดการชักซ้ำได้บ่อย
-
-
-
-
สาเหตุ
ทฤษฎี
โครงสร้างของสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง (ตีบ,แตก)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
อาการ
1.อาการก่อนชัก (preictal symptoms) อาการนำ (prodromes) อาจเกิดขึ้นเป็นเวลานานหลายนาทีถึงหลายชั่วโมงก่อนมีอาการชัก และมักเป็นอาการ ที่ไม่มีลักษณะจำเพาะ
-
อาการหลังชัก (postictal symptoms) หมายถึง อาการที่เกิดขึ้นหลังจากอาการชักจนกระทั่งผู้ป่วยกลับสู่ภาวะปกติดังเดิม
-
การรักษา
การตรวจร่างกาย การตรวจร่างกายเพื่อประเมินความผิดปกติทางระบบประสาทรวมทั้งการตรวจ
ความผิดปกติของระบบทั่วไป
-
-
กรณีศึกษา
มีการตรวจ CT scan brain และได้รับยา
Dilantin (50) 2 tabs oral q 8 hr. และยา Keppra (500) 2 tab oral bid pc
-
-
-