Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Open fracture left middle phalanx of 2,3 finger กระดูกนิ้วชี้และนิ้วกลางข้…
Open fracture left middle phalanx of 2,3 finger กระดูกนิ้วชี้และนิ้วกลางข้างซ้ายหักแบบเปิด
พยาธิสภาพ
เมื่อเกิดกระดูกหัก จะมีเลือดออกบริเวณที่หักจากตัวกระดูก เกิดจากเนื้อเยื่อข้างเคียงได้รับอันตราย เลือดที่ออกจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงที่ได้รับ และอาจพบเลือดคั่งบริเวณรอบๆเนื้อเยื่อ
-
อาการและอาการแสดง
รู้สึกปวดกระดูกหรือรอบ ๆ บริเวณที่ได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง โดยอาการจะแย่ลงเมื่อเคลื่อนไหว
อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ หรือได้รับแรงกดที่บริเวณดังกล่าว
-
-
-
-
-
การวินิจฉัยโรค
ตรวจบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บและเอกซเรย์กระดูกผู้ป่วย ทั้งนี้ผู้ป่วยบางรายที่ไม่พบความผิดปกติหลังเอกซเรย์แต่แพทย์สันนิษฐานว่าเกิดกระดูกหัก อาจต้องใส่เฝือกอ่อน
ดามกระดูกไว้ก่อนประมาณ 10-14 วัน แล้วมาเข้ารับการเอกซเรย์อีกครั้ง
-
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
-
ได้รับแรงกระแทกจากการเคลื่อนไหว เช่น เล่นกีฬาที่ต้องลงน ้าหนักมากเกินไป ซึ่งท้าให้เท้า ข้อเท้า
หน้าแข้ง หรือสะโพก เกิดกระดูกปริได้
ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุนหรือมะเร็งบางชนิด ส่งผลให้มวลกระดูกเสื่อมลงและหักได้ง่าย หากได้รับแรง
กระแทกเพียงเล็กน้อยจากการท้ากิจกรรมหรือประสบอุบัติเหตุ ก็สามารถประสบภาวะกระดูกหักที่
ร้ายแรงได้
-
-
-
ความหมายของกระดูกหัก
กระดูกหรือส่วนประกอบของกระดูกเกิดจากการแตก แยกหรือขาดการเชื่อมต่อเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด โดยสามารถเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นในร่างกายและเกิดได้ทุกช่วงวัย
ภาวะแทรกซ้อน
ระยะแรก
-
ผู้ป่วยที่กระดูกซี่โครงหักหลายชิ้นสามารถประสบภาวะปอดแตก โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ(Pneumothorax) ภาวะอกรวนหรือภาวะการท้างานล้มเหลวของซี่โครง (Flail Chest) และหายใจไม่พอ (Respiratory Compromise)
สูญเสียการเคลื่อนไหวของร่างกาย ก่อให้เกิดปอดบวม หลอดเลือดอุดตัน หรือกล้ามเนื้อสลาย โดยภาวะนี้ มักเกิดกับผู้ป่วยที่กระดูกสะโพกหัก โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุมาก
-
-
-
-
-
ระยะปลาย
-
-
-
-
-
เกิดภาวะกล้ามเนื้ออักเสบที่มีหินปูนจับ (Myositis Ossificans) โดยผู้ป่วยจะมีก้อนกระดูกเกิดขึ้นในกล้ามเนื้อที่ได้รับบาดเจ็บ
-
-
-