Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลข้ามวัฒนธรรมในกลุ่มทวีปเอเชีย ประเทศจีน, 1, 2, 3, 4, 44, 5, 6, 1 -…
การดูแลข้ามวัฒนธรรมในกลุ่มทวีปเอเชีย
ประเทศจีน
ประเทศจีน
นับว่าเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียมีพรมแดนติดกับประเทศต่างๆโดย 15 ประเทศได้แก่เกาหลีเหนือ รัสเซีย
มีชนชาติต่างๆอยู่รวมกัน 56 ชนชาติโดยเป็นชาวเผ่าฮั่นละ 93.3
ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของทวีปเอเชียมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร
ความเชื่อเกี่ยวกับ
อาหารจีน
และกลายเป็นอาหารกวางตุ้งที่ขึ้นชื่อเรื่องความหลากหลายของวัตถุดิบ
กวางตุ้งกินได้ทุกอย่างไม่ว่าจะอยู่ในน้ำ อยู่บนฟ้า หรือบนดินก็จับมาปรุงอาหารได้ เช้น ไก่ หมู กุ้ง หอย ปูปลา ไปจนถึ เหย่เว่ย
คนจีนมีความเชื่อว่า ดินน้ำถิ่นใด ก็เพื่อเลี้ยงดูผู้คนถิ่นนั้น
ทฤษฎีหยิน-
หยาง
ร่างกายประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อ โครงสร้างกระดูก เส้นผม เล็บซึ่งเป็นหยิน ส่วนหยางคือ พลังงานของชีวิตภายใต้สภาพปกติหยินหยาง
โรคหยาง เป็นโรคชนิดเฉียบพลัน มีลักษณะเดินหน้าและเพิ่มขั้น
เป็นอาการไข้สูง กระสับกระส่าย
ร่างกายมนุษย์จำเป็นต้องดำรงหยิน-หยางให้คงอยู่ในสภาวะสมดุล
โรคหยิน เป็นโรคชนิดเรื้อรังมีลักษณะถอยและลดลง เช่น
เป็นอาการเย็นง่าย หนาวง่าย เซื่องซึม
อาหาร
ประจำธาตุ
ธาตุน้ำ อาหารสีดำเช่น งาดำ ถั่วดำ
ธาตุไม้ อาหารที่มีสีเขียวเหลือง เช่น ตามสีของน้ำดีจากตับ
ธาตุไฟ อาหารที่มีสีแดงเช่น ทับทิม สตรอเบอรี่
ธาตุเหล็ก อาหารสีขาว เช่น หัวไชเท้า ผักกาดขาว
ธาตุดิน อาหารที่มีสีเหลือง เช่นถั่วเหลือง
ข้าวฟ่าง ข้าวโพด แครอทเต้าหู้
ประเพณีจีน
เทศการเซ็งเม้ง
การไหว้บรรพบุรุษที่สุสาน
เทศกาลกินเจ กินเพื่อสุขภาพ กินด้วยจิตเมตตากินเพื่อเว้นกรรม
การแพทย์โบราณ
ของจีน
จึงทำให้มีแพทย์แผนจีน เช่น การฝังเข็ม ทฤษฎีพื้นฐานของวิชาการฝังเข็มเส้นทางการไหลเวียนของเลือดลมภายในร่างกาย
การรักษาโดยวิธีการฝังเข็มโดยทั่วไป มักจะเลือกฝังเข็มบนจุดลมปราณที่อยู่บนเส้นทางการไหลเวียนของเลือด
หากสภาพความสมดุลของหญิงและอย่าถูกทำลายก็ย่อมทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้
อาการที่เกิดจากภายนอกหรือภายในเกิดจากความหนาว หรือความร้อน หรือเกิดจากความแข็งแกร่ง หรือความพร่อง เป็นต้น
คนจีนมีความเชื่อพื้นฐานว่ามนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ
ซึ่งประกอบไปด้วยถ้าหยินและหยาง
อาการที่พบบ่อย
เมื่อหยิน-หยางไม่สมดุล
หยางพร่อง เกิดจากความอบอุ่นในร่างกายน้อยลง มีอาการหนาวง่าย ปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน แนะนำให้กินเนื้อสัตว์ ซุปต่างๆ
หยางเกิน เกิดจากหยางพุ่งขึ้นข้างบน ทำให้เลือดขึ้นพุ่งสูง มีอาการหน้าแดง ตาแดง โมโหง่าย แนะนำให้ควรงดแอลกอฮอล์ กาแฟ
หยินพร่อง น้ำในร่างกายน้อยอาการคนคล้ายขาดน้ำ คือ ร้อนใน
ปากแห้ง แนะนำให้กินผลไม้ที่มีน้ำมาก เช่น สาลี่ แครอท
รสทั้งห้า
ของอาหาร
รสเปรี้ยว จำพวกหยิน ช่วยหยุดการหลั่งของเหลวและเพิ่มน้ำในร่างกาย อาหารได้แก่ ลูกเคียมซิก เม็ดบัว
รสขม จำพวกหยิน ช่วยขับร้อน
ปรับสภาวะพลังย้อนกลับ เช่น ผักขม มะระ
รสหวาน จำพวกหยาง มักใช้บำบัดม้าม
อาหารไม่ย่อย อาหารได้แก่ พุทรา ลำไย
รสเค็มจำพวกหยิน ช่วยระบาย บำรุงไต เช่ยสาหร่าย ปลิงทะเล
รสเผ็ด จำพวกหยาง ช่วยระบาย แก้ปวดกระเพาะ
อาหารได้แก่ กระเทียม ฮวยเจีย กุ้ยพวย
ความสัมพันธ์
ของธาตุทั้งห้า
การสร้าง หมายถึง การหนุนเนื่องให้มีการเกิดและการพัฒนา
การข่ม หมายถึง การคุม การกดกันไว้
การสร้างและการข่มจะดำเนินควบคู่สัมพันธ์กันในลักษณะสมดุลพื่อทำให้สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นเจริญเติบโต ทรงตัวอยู่ได้ และตายไป หากสมดุลถูกทำลายความผิดปกติจะเกิดขึ้น
อาหารจีน
นิยมรับประทานอาหารจานถาดและธัญพืชเป็นหลัก
นอกจากในราชสำนักที่จะมีอาหารประเภทเนื้อ
เป็นหลักอุปกรณ์การกินหลักคือตะเกียบ
อาหารซังตง อาหารกวางตุ้ง