Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร, 60206554 นางสาวสุจิตรา ศรีอัจฉริยะวณิช -…
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการฟัง
จุดมุ่งหมายของการฟัง
การฟังเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์
การฟังเพื่อสังคม
ประโยชน์ของการฟัง
ประโยชน์ต่อตนเอง
การฟังที่ดีทำให้เรารับรู้เรื่องราวที่ฟังได้โดยตลอด
การฟังที่ดีช่วยพัฒนาสมรรถภาพของการใช้ทักษะภาษาอื่น ๆ
การฟังที่ดีเป็นพฤติกรรมของผู้มีมารยาทในการเข้าสังคม
ประโยชน์ต่อสังคม
ผู้ฟังได้รับผลดีจากการปฏิบัติและสังคมได้ประโยชน์ทางอ้อม
ผู้ฟังสามารถนำความรู้ แง่คิดต่าง ๆ ไปใช้
ช่วยให้รัฐประหยัดงบประมาณและเงินตราต่างประเทศ
ทรัพยากรบุคคลของชาติสามารถทำงานพัฒนาประเทศชาติได้อย่างเข้มแข็ง
กระบวนการฟัง
การเข้าใจสิ่งที่ได้ยิน
การตีความสิ่งที่ได้ยิน
การมีสมาธิต่อสิ่งที่เราได้ยินนั้น
การตอบสนอง
การได้ยินเสียงที่มากระทบโสตประสาท
มารยาทในการฟัง
มารยาทในการฟังระหว่างบุคคล
สายตาจับอยู่ที่ผู้พูดอย่างสนใจ และด้วยความรู้สึกจริงใจ
ไม่พูดแทรกกลางคัน พูดขัดคอ หรือพูดขัดจังหวะ
ตั้งใจฟังและแสดงอาการกระตือรือร้นที่จะฟัง
มีกิริยาท่าทางสำรวม เป็นการให้เกียรติแก่ผู้พูด
มารยาทในการฟังกลุ่ม
ควรอยู่ในความสงบสำรวมในขณะที่นั่งรอฟังการพูด
แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย ถูกกาลเทศะ
ผู้ฟังที่ไปก่อนควรนั่งเก้าอี้ในแถวหน้า ๆ
ควรให้เกียรติผู้พูด
เดินทางไปถึงสถานที่ที่มีการพูดก่อนเวลาที่จะเริ่มพูด
แสดงความสนใจในการพูด
วิธีฝึกฝนและพัฒนาทักษะการฟัง
ต้องรู้จักสังเกตอวัจนภาษาของผู้พูด
ขณะฟัง ต้องหมั่นฝึกปฏิบัติให้ได้ตามขั้นตอนการฟัง
ฟังอย่างสุภาพและตั้งใจจริง
พยายามหาประโยชน์จากการฟัง
ทำตัวให้มีความพร้อมที่จะรับฟัง
พยายามจดบันทึกทุกครั้งในขณะที่ฟัง
ทักษะการฟังเชิงรุก
เป้าหมายการฟังเชิงรุก
ฟังเพื่อนำมาใช้เมื่อถึงเวลา
ฟังเพื่อวิเคราะห์และประเมินว่าสิ่งใด
มีประโยชน์ น่าสนใจ และสำคัญ
ฟังเพื่อทำความเข้าใจ
ฟังเพื่อรับความรู้สึก
เทคนิคในการฟังเชิงรุก
ตั้งสติให้ความสนใจเต็มร้อย สร้างความเชื่อมั่นให้ผู้พูดมั่นใจว่าเรากำลังตั้งใจฟังอยู่
ทวนซ้ำคำได้ (Placement) พูดทวนตามความเข้าใจของเรา
จงหยุดพูด เปิดพื้นที่ให้ผู้พูด โดยทั่วไปแล้วผู้พูดควรพูดเยอะกว่าผู้ฟังประมาณ 70 : 30
ทวนคำถูกที่ถูกเวลา รอฟังให้จบแล้วจึงขอทบทวนสิ่งที่ได้ยินเพื่อเช็กความถูกต้อง
เข้าอกเข้าใจ ฟังด้วยใจเพื่อรับความรู้สึกตามการฟังระดับ 5
ระดับการฟัง
เลือกฟัง
ตั้งใจฟัง
แกล้งฟัง
ฟังด้วยใจ
ไม่สนใจ
ทักษะการพูด
ความหมายของการพูด
พฤติกรรมการสื่อความหมายของมนุษย์โดยอาศัยภาษา ผ่านถ้อยคำ น้ำเสียง และอาจมีกิริยาท่าทางร่วมด้วย เพื่อถ่ายทอดความคิดและความรู้สึก การพูดมีความสำคัญยิ่งต่อมนุษย์
ความสำคัญ
การพูดมีความสำคัญต่อผู้ฟังหรือผู้เกี่ยวข้อง
การได้รับรู้หรือได้รับฟังข้อมูลที่ดีและมีประโยชน์
การพูดมีความสำคัญต่อการประกอบอาชีพ เพราะการพูดเป็นเครื่องมือสำหรับประกอบอาชีพต่าง ๆ มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพูดโดยตรง
การพูดมีความสำคัญต่อตนเอง เพราะมนุษย์จำเป็นต้องมีการคบหาสมาคมซึ่งกันและกัน ต้องมีการเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ
การพูดมีความสำคัญต่อประเทศชาติ ในการบริหารประเทศ
การพูดมีความสำคัญต่อสังคม สังคมจะอยู่ได้ก็เพราะสมาชิกของสังคมมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน
องค์ประกอบของการพูด
ผู้พูด
ผู้ฟังคือผู้รับสาร
เนื้อหาสาร
เครื่องมือในการสื่อความหมาย
จุดมุ่งหมายของการพูด
เพื่อสอนหรือแจ้งข่าวสารให้ทราบ
เพื่อเกลี้ยกล่อมหรือจูงใจ
เพื่อกระตุ้นหรือสร้างความประทับใจ
เพื่อความบันเทิง
ทักษะการพูดนำเสนอเชิงวิชาการ
การนำเสนองานเชิงวิชาการ หมายถึง การนำเสนอเนื้อหาสาระให้แก่บุคคลเป้าหมายให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และยอมรับในสาระที่นำเสนอตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการนำเสนอ
การนำเสนองานเชิงวิชาการมีบทบาทสำคัญอย่างมากในปัจจุบันทั้งนี้เพราะเป็นสื่อสารข้อมูล ตลอดจนเผยแพร่ก้าวหน้าขององค์ความรู้ ผลการศึกษาหรือการวิจัย ที่จะช่วยในการตัดสินใจในการดำเนินงาน และช่วยในการพัฒนางานในองค์กรให้มีความก้าวหน้าต่อไป
ขั้นตอนการนำเสนอ
การนำเสนอ
การประเมิน
การวางแผนการนำเสนอ
การศึกษาข้อมูล
สื่อในการนำเสนอ
วีดีทัศน์/ภาพยนตร์
แผ่นใส
พลิปชาร์ต
Microsoft Office PowerPoint
ทักษะการอ่าน
จุดมุ่งหมายของการอ่าน
อ่านเพื่อความรู้
อ่านเพื่อหาคำตอบ
อ่านเพื่อปฏิบัติตาม
อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน
ประโยชน์ของการอ่าน
ประโยชน์ต่อสังคม
สร้างสรรค์ปัจเจกบุคคลให้เกิดความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ให้เกิดการเรียนรู้สังคมและกิจกรรมทางสังคม นำมาซึ่งการรวมกลุ่มสังคมด้วย
ส่งผลต่ออาชีพและเศรษฐกิจของตนให้ดีขึ้น แล้วยังส่งผลต่อการรวมกลุ่มสู่เศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจทางสังคม
เป็นกุญแจในการสืบค้น ดำรงไว้ส่งเสริมพัฒนาและประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมทางสังคมและวิทยาการของมวลมนุษยชาติ
เป็นปัจจัยพื้นฐานในการนำเสนอความคิดแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้ ทั้งโดยตรงและผ่านสื่อมวลชน ด้วยทัศนะที่หลากหลายเป็นที่ยอมรับกันด้วยความรู้ด้วยเหตุผล ทำให้ระบบประชาธิปไตยก่อเกิดและยั่งยืน
การเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้กว้างขวางมองเห็นความเป็นอยู่ ทุกข์ สุข ของเพื่อนมนุษย์ ก่อให้เกิดความเมตตากรุณาต่อกัน ผลที่สุดปรารถนาให้สังคมอยู่กันอย่างสันติ
ประโยชน์ต่อตนเอง
ยกระดับสติปัญญา
ก่อให้เกิดความรอบรู้
พัฒนาความคิด
ช่วยให้รับความเพลิดเพลิน
สร้างแรงบันดาลใจให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
กระบวนการการอ่าน
การเข้าใจความหมายของสาร
การมีปฏิกิริยาต่อสาร
การมองเห็นตัวอักษร สัญลักษณ์ หรือข้อความชัดเจนแล้วเข้าใจ
การบูรณาการความคิด
ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
ประเภท
การอ่านแบบศึกษาค้นคว้า
การอ่านแบบตรวจตรา
การอ่านอย่างคร่าวๆ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การอ่านโดยใช้วิจารณญาณ
จุดมุ่งหมาย
เพื่อแสวงหาข่าวสารความคิด
เพื่อแสวงหาความบันเทิง
เพื่อแสวงหาความรู้
เพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง
เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
เพื่อพัฒนาและปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพ
ประโยชน์ของการอ่านเชิงวิเคราะห์
ช่วยให้ผู้อ่านเกิดทักษะในการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
ช่วยให้ผู้อ่านเพิ่มประสิทธิภาพการอ่านให้แก่ตนเอง
ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมดของงานเขียนแต่ละชิ้น
ช่วยให้ผู้อ่านนำเอาวิธีการและผลจากการอ่านมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต
หลักการอ่านเชิงวิเคราะห์
แยกแยะส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงออกจากข้อคิดเห็นในงานเขียนต่างๆ
แยกแยะส่วนที่เป็นสาระสำคัญและส่วนขยายความ
ทักษะการเขียน
ความหมายและ
ความสำคัญของ
การเขียน
การเขียน หมายถึง การที่มนุษย์พยายามถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้ ความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ โดยอาศัยสัญลักษณ์ที่เรียกว่าตัวหนังสือหรือตัวอักษรเป็นสื่อกลางในการทำความเข้าใจร่วมกัน
การเขียนมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมวลมนุษยชาติเพราะสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมจากมนุษย์รุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง
ลักษณะของงานเขียนที่ดี
มีสัมพันธภาพ
มีความกระจ่าง
มีรูปแบบการเขียนเหมาะสมกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา
มีเอกภาพ
มีจุดมุ่งหมายในการเขียนที่ชัดเจน
มีเนื้อหาดีและรายละเอียดเด่นชัด
การพัฒนาทักษะการเขียน
ย่อหน้าแต่ละย่อหน้าบรรจุความคิดหลักหรือความคิดสำคัญที่ผู้เขียนต้องการจะเสนอ ทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเรื่องได้ง่าย
ย่อหน้าทำให้ผู้อ่านมีช่วงโอกาสคิดพิจารณาเนื้อหาในย่อหน้าที่มาก่อน ช่วยให้ทำความเข้าใจได้ง่ายและต่อเนื่อง
ลักษณะย่อหน้าที่ดี
มีเอกภาพ หมายความว่า ข้อความแต่ละย่อหน้า จะต้องเขียนให้มีความคิด หรือใจความสำคัญเพียงประการเดียว
มีสัมพันธภาพ คือ การเรียบเรียงข้อความในย่อหน้าให้เกี่ยวโยง ต่อเนื่องกัน
สมบูรณ์ ในแต่ละย่อหน้าต้องเขียนให้มีจุดหมาย เนื้อหา สาระสำคัญ รายละเอียด ส่วนขยายชัดเจน ไม่ออกนอกเรื่อง
มีสารัตถภาพ คือ มีการเน้นย้ำใจความสำคัญ
การเขียนเชิงสร้างสรรค์
ความหมายของการเขียนเชิงสร้างสรรค์
การเขียนเชิงสร้างสรรค์ คือ การสื่อความหมาย โดยการเรียบเรียงความรู้ ความคิดและความรู้สึก ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ของผู้เขียนออกมาอย่างอิสระ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสื่อสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อื่นให้เข้าใจตรงกัน
ประโยชน์ของการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์
ช่วยให้มีความรู้ ความซาบซึ้งในวรรณคดีที่มีคุณค่าต่าง ๆ
ฝึกทักษะและการพัฒนาการใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และยังเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้เขียน
ช่วยให้รู้จักวงศัพท์มากขึ้น สามารถเลือกใช้ถ้อยคำ สำนวน วลี
เป็นงานที่สร้างความสุขสนุกสนาน
ลำดับขั้นในการสอน
เขียนเชิงสร้างสรรค์
ขั้นแลกเปลี่ยนความคิดในเรื่องที่สนใจ ขั้นนี้ครูต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและ เพื่อให้เกิดแนวคิดเพิ่มขึ้น
ขั้นเขียน ขั้นนี้นักเรียนเขียนเรื่องที่ตนเองสนใจอย่างอิสระ
ขั้นจูงใจ เป็นขั้นให้ความรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจ ขั้นนี้ครูต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดแนวคิดเพิ่มขึ้น
ขั้นแลกเปลี่ยนความคิดจากเรื่องที่เขียน หลังจากเขียนเรื่องเสร็จแล้วให้นักเรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรื่องกันอ่าน เพื่อให้นักเรียนเกิดความคิดเพิ่มขึ้น
ขั้นติดตามผลกิจกรรมบางอย่างที่เหมาะสม
ประโยชน์ของการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์
ประโยชน์ที่มีต่อนักเรียน คือ กล้าคิด คิดอย่างรวดเร็ว สามารถแสดงความคิด ความเข้าใจ แสดงปฏิกิริยาต่อสิ่งที่พบเห็น รู้จักแสดงความรู้สึกสะเทือนอารมณ์และมีสุนทรียภาพ
ประโยชน์ที่มีต่อตัวครูคือ ทำให้ทราบความคิด ประสบการณ์ของเด็ก และเข้าใจความแตกต่างของเด็กแต่ละคน
60206554 นางสาวสุจิตรา ศรีอัจฉริยะวณิช