Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 12 ความเป็นครู - ความซื่อสัตย์สุจริต - Coggle Diagram
บทที่ 12
ความเป็นครู - ความซื่อสัตย์สุจริต
ความหมายของ
ความซื่อสัตย์สุจริต
บุคคลที่มีความริสุทธิ์ใจต่อตนเองและผู้อื่น
ไม่กระทำในสิ่งผิดทั้งในที่ลับและที่แจ้ง
ทั้งทางกาย วาจา และใจ
ความเป็นมา
ของความซื่อสัตย์สุจริต
พะบรมราโชวาทของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดชเรื่องการทำงาน
ก็ทรงเน้นความซื่อสัตย์สุจริตเป็นสำคัญ
(2) วจีสุจริต
(3) มโนสุจริต
(1) กายสุจริต
ความสำคัญ
ของความซื่อสัตย์สุจริต
การที่ครูเป็นคนซื่อสัตย์ พูดจริ ทำจริง เป็นคนจริงใจ เป็นคนตรง จะทำให้เขาป็นที่เชื่อถือ เคาร
ของคนอื่น และเป็นผู้ที่เคารพนับถือตัวองได้ การรักความจริง การทำทุกสิ่งทุกอย่างให้ตรงกับความเป็นจริง
แนวทางส่งเสริม
ความซื่อสัตย์สุจริตของครู
แบ่งเป็น 2 ทฤษฎี
ทษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของ
Kohlberg
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
(Piaget's theory of cognitive development)
ประเภท
ของความซื่อสัตย์
4 ลักษณะ
(2) ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่การงาน
(3) ความซื่อสัตย์ต่อบุคคล
(1) ความซื่สัตย์ต่อตนเอง
(4) ความซื่อสัตย์ต่อคณะ
สังคม และประเทศชาติ
พฤติกรรมความซื่อสัตย์
เป็นลักษณะพฤติรรม
หรือความรู้สึกของบุคคล
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
การปฏิบัติกฏเกณณฑ์ที่กำหนด
ไม่ทุจริตหรือประพฤติมิชอบ
รับผิดขอบต่อหน้าที่ ตรงต่อเวลา
ยุติธรรม ละอายและเกรงกลัวต่อบาป
ซื่อตรงต่อเวลา
ซื่อตรงต่องานของตนเองที่กำหนดไว้
ชื่่อตรงต่อหน้าที่การงานที่อยู่ในควมารับผิดชอบ
ซื่อตรงต่อคุณธรรมที่ยึดถือปฏิบัติ
ซื่อตรงต่อการนัดหมาย
ซื่อตรงต่อการให้สัญญา
ซื่อตรงต่อทรัพย์สินของผู้อื่น
ซื่อตรงต่อหน้าที่การงานของผู้อื่น
ซื่อตรงต่อระเบียบแบบแผน
ซื่อตรงต่อกฎหมายที่เกี่ยวกับสังคม
ซื่อตรงต่องานที่ได้รับมอบหมาย
ซื่อตรวต่อข้อมูลปัจจุบัน