Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่พ.ศ. 2535 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่พ.ศ. 2535
มาตรา3 ในพระราชบัญญัติ
สูบบุหรี่= การกระทำใดใดซึ่งมีผลทำให้เกิดควันจากการเผาไม่ของบุหรี่
สถานที่สาธารณะ=สถานที่หรือยานพาหนะใดใดซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้
บุหรี่=บุหรี่ซิกาแรต บุหรี่ซิกา บุหรี่อื่น ยาเส้นหรือยาเส้นปรุงตามกฏหมายว่าด้วยยาสูบ
ผู้ดำเนินการ=เจ้าของ ผู้จัดการ ผู้ควบคุม หรือผู้ที่รับผิดชอบดำเนินงานของสถานที่สาธารณะ
มาตรา4 ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจนุเบกษา
มาตรา 9 ให้ผู้ดำเนินการและบรรดาผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่สาธารณะอำนวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฎิบัติหน้าที่ตามมาตรา7
มาตรา 11 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา5(1) ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท
ผู้ดำเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา5(2)ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 10,000 บาท
ผู้ดำเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา5(3)ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2000 บาท
มาตรา 12 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา6ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2000 บาท
มาตรา7ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าไปในสถานที่สาธารณะตามที่รัฐมนตรีประกาศตามมาตรา 4 (1) (2)ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก
มาตรา5เมื่อรัฐมนตรีประกาศตามมาตรา4 แล้ว
มาตรา6 ห้ามมิให้ผู้ใดสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่
มาตรา 10 ในการปฎิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้ากฎหมายอาญา
มาตรา8 ในการปฎิบัติหน้าที่ให้เจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่แสดงบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 13 ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฎิบัติการตามมาตราเจ็ดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน 2000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 14 บัญญัติความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานสอบสวนผู้มีอำนาจทำการสอบสวนคดีนั้นมีอำนาจเปรียบเทียบได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่19) พ.ศ. 2553
เรื่องกำหนดชื่อหรือประเภทของสถานที่สาธารณะให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่และกำหนดส่วนใดหรือทั้งหมดของสถานที่สาธารณะดังกล่าวเป็นเขตสูบบุหรี่หรือเขตปลอดบุหรี่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่พ.ศ. 2535
ข้อ 2 ให้สถานที่ดังต่อไปนี้เป็นสถานที่สาธารณะที่ให้มีคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ด้วยกำหนดให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ทั้งหมด
สถานที่สาธารณะที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
ยานพาหนะและสถานีขนส่งสาธารณะ
สถานศึกษา
ศาสนสถานสถาน ปฎิบัติธรรม ในศาสนานิกายต่างๆ
สถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพ
ข้อ 3 ให้สถานที่ดังต่อไปนี้เป็นสถานที่สาธารณะที่มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่โดยกำหนดให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ทั้งนี้สามารถจัด เขตปลอดบุหรี่ เป็นเฉพาะได้
สถานที่ให้บริการน้ำมันเชื้อเพลิงหรือแก๊สเชื้อเพลิง นอกเหนือจากพื้นที่ส่วนที่เป็นอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง
สถานที่ราชการ รัฐวิสากิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐนอกเหนือจากพื้นที่ส่วนที่เป็นอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง
สถานศึกษาระดับอุดมศึกษานอกเหนือจากพื้นที่ส่วนที่เป็นอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง
ท่าอากาศยานนานาชาติ
ข้อ 4 สถานที่สาธารณะใดที่ไม่ได้ระบุว่า"อาคาร"ให้หมายความรวมถึงบริเวณซึ่งใช้ประกอบภารกิจนั้นด้วย จะมีรั้วล้อมหรือไม่ก็ตาม
(บทสรุป)ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่19) พ.ศ. 2553
กรณีที่มีการจัดเขตสูบบุหรี่
จะต้องไม่อยู่ในบริเวณทางเข้าออกของสถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่
จะต้องไม่เป็นการรบกวนผู้อื่นบุคคลอื่น
จะต้องไม่อยู่ในพื้นที่เปิดเผยอันเห็นได้ชัดเก็บผู้ที่มาใช้สถานที่นั้นอยู่ในที่รับตา
สภาพและลักษณะของเขตปลอดบุหรี่
ต้องไม่มีการสูบบุหรี่
ต้องติดเครื่องหมายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่บริเวณทางเข้าสถานที่สาธารณะทุกช่องทางและภายในสถานที่สาธารณะที่เห็นได้ชัด
ต้องไม่มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการสูบบุหรี่
บทกำหนดโทษ
ผู้ฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
เจ้าของสถานที่ไม่จัดสถานที่เป็นเขตเขตสุรินทร์มีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท
เจ้าของสถานที่ไม่ติดเครื่องหมายคิดว่าบุหรี่หรือเขตสูบบุหรี่มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
ความรับผิดชอบของเจ้าของสถานที่
ต้องติดเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกำหนด
ต้องดูแลไม่ให้มีการสูบบุหรี่ในพื้นที่ที่เป็นเขตปลอดบุหรี่