Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ (Pender’s Health Promotion Model) -…
ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ (Pender’s Health Promotion Model)
ความหมายของพฤติกรรม
การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพซึ่งเกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอก
กิจกรรมหรือการปฏิบัติใดๆของปัจเจกบุคคลที่กระทำไปเพื่อจุดประสงค์ในการส่งเสริมป้องกัน
ประเภทของพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมการป้องกันโรค (Preventive health behavior)
การไม่สูบบุหรี่
การออกกำลังกาย
การสวมหมวกนิรภัยเมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์
พฤติกรรมการเจ็บป่วย (Illness behavior)
การนอนพักอยู่กับบ้านแทนที่จะไปทำงาน
การเพิกเฉย
การถามเพื่อนฝูงเกี่ยวกับอาการของตน
พฤติกรรมที่เป็นบทบาทของการเจ็บป่วย (Sick role behavior)
การรับประทานยาตามแพทย์สั่ง
การออกกำลังกาย
การควบคุมอาหาร
พฤติกรรม (Risk behavior)
พฤติกรรมการดื่มสุรา
การสูบบุหรี่
บริโภคไขมัน
พฤติกรรมดูแลตัวเอง
การบำบัดรักษาโรค
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ
ลักษณะของพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์หรือพฤติกรรมเชิงบวก (Positive behavior)
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์หรือพฤติกรรมเชิงลบ (Negative behavior)
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม
การโฆษณาจากสื่อมวลชน
ค่านิยมที่เปลี่ยนไป
ความเชื่อขนบธรรมเนียม
การศึกษาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
บางศาสนาให้อดอาหาร
การติดต่อคมนาคม
หลากหลายเชื้อชาติ
ที่ตั้งและสภาพท้องที่
อิทธิพลกลุ่ม
การพัฒนาทฤษฎี Health Promotion Model ฉบับปี ค.ศ.1987
การเห็นความสำคัญของสุขภาพ
รับรู้ว่าสุขภาพสามารถควบคุมได้
รับรู้ความสามารถของตน
คำจำกัดความสุขภาพ
การับรู้สภาวะสุขภาพ
การับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรม
การรับรู้ถึงอุปสรรคของพฤติกรรม
องค์ประกอบอื่น
การพัฒนาทฤษฎี Health Promotion Model ฉบับปี ค.ศ.1996 ปรับปรุงใหม่
พฤติกรรมเดิม
กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับความรู้สึกทั้งด้านบวกและด้านลบ
การยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ
ความต้องการ ความชอบที่เกิดขึ้นแทรกทันที
ข้อตกลงเบื้องต้นของทฤษฎี
บุคคลจะสร้างเงื่อนไขของการดำรงอยู่
บุคคลมีความสามารถสะท้อนการตระหนักรู้และการประเมินความสามารถของตน
บุคคลมองคุณค่าของการเติบโตในทางบวกและพยายามที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย
บุคคลหาวิธีการที่จะทำให้พฤติกรรมดำเนินไปอย่างดี
บุคคลมีความซับซ้อนในลักษณะร่างกาย อารมณ์ สังคม
บุคลากรทางสุขภาพเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม
การปรับเปลี่ยนมุมมองต่อตนเองระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
คำอธิบายแบบจำลองส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
คุณลักษณะของบุคคลและประสบการณ์ของบุคคล
พฤติกรรมเดิมที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยส่วนบุคคล
การคิดรู้และอารมณืที่จำเพาะต่อพฤติกรรม
การรับรู้ถึงประโยชน์ของการปฏิบัติ
การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ
การรับรู้ความสามารถของตน
กิจกรรมและความเกี่ยวเนื่องผลที่ได้
อิทธิพลความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
อิทธิพลของสถานการณ์
ผลลัพธ์ของพฤติกรรม
ความยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ
ความต้องการและความชอบที่เกิดขึ้นขณะนั้น
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ