Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพผ…
บทที่ 10
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน
พฤติกรรมสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน
คันลำดับของยุทธศาสตร์การสอนและโครงสร้างของพหุปัญญา
ขั้นการสะท้อนคิดและความรับผิดชอบ
คันกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ด้านเนื้อหากับด้านทักษะการร่วมมือ
ขั้นความตระหนักและรู้คุณค่า
ขั้นของการพัฒนากลุ่ม
การวิจัยเพื่อศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับเด็กระดับปฐมวัยและปรับพฤติกรรมทางสังคมของเด็กระดับปฐมวัย
สรุป
การปฏิสัมพันธ์เป็นภารกิจการเรียนรู้ที่ครูต้องเตรียมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นไปตามเป้าหมาย การเรียนรู้ที่ครูต้องพัฒนาผู้เรียนโดยคำนึงถึงเวลาและเนื้อหาตามแนวคิดของบลูมและจุดมุ่งหมายทางการศึกษาในแต่ละคาบ
โครงการส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและผู้เรียน
โครงการ Parental Involvement
โครงการ Peer Tutoring
โครงการ Socratic Teaching
โครงการ Inclusion
โครงการ Growth Mindset
แนวทางในการสร้างปฏิสัมพันธ์สร้างสรรค์ที่ประกอบด้วยพฤติกรรมของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็ก
2 ว่าจะสร้างสรรค์การเลือกใช้คำพูดที่เหมาะสมและสร้างสรรค์หรือพูดในเชิงบวก ย่อมส่งผลต่อการพัฒนาของผู้เรียน
3 สัมผัสที่อบอุ่นเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้กับผู้เรียนโดยการโอบกอด ผู้เรียนจะรู้สึกถึงความอบอุ่นและความรัก
1 สบสายตา เป็นภาษาท่าทางที่สื่อความหมายได้ดี จะทำให้ผู้เล่นรับรู้ได้ถึงความรักความเมตตาและความอบอุ่น
ความหมายของปฏิสัมพันธ์
การปฏิสัมพันธ์เป็นการแสดงบทบาทในฐานะของครู
2.เป็นพฤติกรรมของครูที่แสดงออกตามเจตคติอคติ และความคาดหวังที่มีอยู่
เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนที่มีผลต่อการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
บุคลิกภาพของครูที่มีต่อการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
เป็นพฤติกรรมที่ครูรู้จักการใช้เสริมแรงที่เหมาะสม
ความหมายของการเรียนรู้ การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ถาวรโดยเป็นผลจากการฝึกฝนจากการกระทำและเมื่อได้รับการเสริมแรง
2 การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ความรู้สึกทัศนคติและค่านิยม
3 ความเปลี่ยนแปลงด้านความชำนาญ
4 การแปลความหมาย
5 ลงมือกระทำ
3 สถานการณ์
6 ผลที่ตามมา
2 ความพร้อม
7 ปฏิกิริยาต่อความผิดหวัง
1 จุดมุ่งหมายของผู้เรียน
1 การเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ความเข้าใจและความคิด
การส่งเสริมเด็กปฐมวัยในด้านต่างๆ
4 ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียน
5 ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณธรรมด้านการมีวาจาสุภาพ
3 ช่วยให้ผู้เรียนกระทำสิ่งต่างๆอย่างสร้างสรรค์
6 ช่วยให้ครูสามารถจัดการชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 ช่วยให้ผู้เรียนมีความมั่นใจในตนเอง
7 ช่วยลดพฤติกรรมที่เป็นปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในชั้นเรียน
1 ตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานของเด็กปฐมวัย
8 ช่วยส่งเสริมทักษะทางสังคมให้กับผู้เรียน
ตัวอย่างกิจกรรมสร้างสรรค์
สถานการณ์การวาดภาพระบายสี
สถานการณ์ในมุมหนังสือ
สถานการณ์การปั้นดินน้ำมัน
สถานการณ์ในมุมบ้าน
ตัวอย่างกิจกรรมเสริมประสบการณ์
การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การช่วยเหลืองานบ้าน
นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ รหัสนักศึกษา 6220160352 กลุ่มที่ 3 เลขที่ 8