Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารตามธาตุกับวัฒนธรรมจีน - Coggle Diagram
อาหารตามธาตุกับวัฒนธรรมจีน
ตระกูลอาหารจีน
อาหารกวางตุ้ง
อาหารอันฮุย
อาหารหูหนัน
อาหารเจียงซู
อาหารเสฉวน
อาหารฮกเกี้ยน
อาหารเจ้อเจียง
อาหารซันตง
การแพทย์และยาแผนจีน
หากหยินหยางถูกทำลายจะทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ
มีการฝังเข็มบนจุดลมปราณ
เชื่อว่ามนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติที่ประกอบด้วยธาตุหยินและหยาง
ความเชื่อเกี่ยวกับอาหาร
เชื่อว่าร่างกายมีความสมดุลของ หยิน-หยาง
เชื่อว่าอาหารทำหน้าที่เป็นยา
เชื่อว่าธาตุทั้ง 5 มีผลต่อร่างกาย อวัยวะต่างๆภายในร่างกาย สุขภาพ
เชื่อว่าอาหารที่ดีไม่ได้ทำหน้าที่แค่ให้ท้องอิ่มหรือรสชาติดีเป็นสำคัญ
เชื่อว่าการรับประทานอาหารตามหยิน-หยาง และธาตุต่างๆ ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง มีความสมดุลในร่างกาย
เชื่อว่าการกินค้างคาว จะช่วยเสริมสร้างกำลังวังชา คลายหนาว และเป็นสัตว์มงคล
โรคหยิน-หยาง
โรคหยิน
มีลักษณะถอยหลัง และลดลง มีอาการเย็นง่าย หนาวง่าย เซื่องซึม ไม่มีเรี่ยวแรง
กินอาหารน้อยลง ท้องเดิน อุจจาระเหลว มือเท้าเย็น
โรคหยาง
มีลักษณะเดินหน้า และเพิ่มขึ้น มีอาการไข้สูง จิตใจกระสับกระส่าย กระหายน้ำ
ชอบกินของเย็น ท้องผูก ขัดเบา
รสทั้ง 5 ของอาหาร
รสเผ็ด
เป็นอาหารจำพวกหยาง ช่วยระบาย ช่วยให้พลังเดิน ทำให้โลหิตไหลเวียน แก้ไข้ แก้ปวดกระเพาะ แก้ปวดรอบเดือน
เช่น ขิง กระเทียม ฮวยเจีย กุ้ยพวย กานพลูู
รสหวาน
เป็นอาหารจำพวกหยาง ช่วยปรับโจงชี่ให้สมดุล ใช้บำบัดม้ามและกระเพาะอ่อนแอ อาหารไม่ย่อย สตรีร่างกายอ่อนแอหลังคลอด ปวดตามกระดูกและเอว
เช่น พุทราจีน ลำไย
รสเปรี้ยว
เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยหยุดการหลั่งของเหลวและเพิ่มน้ำในร่างกาย ใช้บำบัดอาการเหงื่อออกผิดปกติขณะหลับ ปัสสาวะบ่อย ม้ามพร่อง สตรีตกขาว ร้อนใน
เช่น ลูกเคียมซิก เม็ดบัว ลูกบ๊วย
รสขม
เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยขับร้อน สลายชื้น ปรับสภาวะพลังย้อนกลับ ใช้บำบัดอาการหวัดแดด เป็นไข้ ตามัว ดีซ่าน
เช่น เก๋ากี้ ผักขม มะระ
รสเค็ม
ช่วยระบาย และขับของเหลวในร่างกาย บำรุงไต และเลือด ใช้บำบัดอาการท้องผูก ฝี ตัวบวม ไตพร่อง ขาดเลือด
เช่น สาหร่าย ปลิงทะเล
อาการที่ หยิน-หยาง ไม่สมดุล
หยินพร่อง
สารที่เป็นน้ำในร่างกายน้อยทำให้มีอาการคล้ายคนขาดน้ำ มีอาการร้อนใน ปากแห้ง คอแห้ง ในผู้สูงอายุ จะหงุดหงิดง่าย ผิวแห้งเหี่ยว
แนะนำให้รับประทานผักและผลไม้ที่มีน้ำมาก เช่น สาลี่ แครอท หัวไช้เท้า ควรงดอาการรสเผ็ด
หยางพร่อง
เกิดจากความอบอุ่นหรือไฟในร่างกายน้อยลง ข้างในจึงเย็น มีอาการฝ่ามือ ฝ่าเท้า เย็น หนาวง่าย ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน หน้าตาซีดเซียว
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีฤทธิ์ร้อน แต่ถ้ารับประทานไปแล้วรู้สึกร้อน ให้หยุดกิน งดการรับประทานของเย็น ในช่วงเย็น
หยางเกิน
เกิดจากหยางพุ่งขึ้นข้างบน ทำให้เลือดพุ่งขึ้นข้างบน จึงมีอาการหน้าแดง ตาแดง โมโหง่าย ความดันโลหิจสูง
ควรงดดื่มแอลกอฮอล์ กาแฟ และยาบำรุงบางชนิดที่มีฤทธิ์ให้ความร้อน ควรรับประทานอาหารที่เป็นหยินมีฤทธิ์เพิ่มความเย็น
อาหารประจำธาตุ
ธาตุน้ำ
คือ อาหารที่มีสีดำ เช่น งาดำ ถั่วดำ เห็ดหลินจือ เห็ดหอม แบล็กเบอร์รี่ และอาหารรสเค็ม
ช่วยบำรุงไต รักษาสมดุลของระดับน้ำในร่างกาย ช่วยให้ไตขับน้ำมากขึ้น ช่วยลดอาการบวมน้ำ
ธาตุไม้
คือ อาหารที่มี สีเขียวเหลือง และอาหารรสเปรี้ยว
ช่วยบำรุงตับ เส้นเอ็น และดวงตา เหมาะกับคนธาตุไม้ที่มักมีอาการเส้นเอ็นอักเสบบ่อยๆ อักเสบเรื้อรัง หรือมีปัญหาเกี่ยวกับดวงตา
ธาตุไฟ
คือ อาหารที่มี สีแดง เช่น ทับทิม เรดเบอร์รี่ สตอร์เบอร์รี่ เห็ดหลินจือแดง และอาหารรสขม
ช่วยบำรุงเลือด เสริมสร้างความแข็งแรงแก่หลอดเลือด
ธาตุโลหะ
คือ อาหารที่มี สีขาว เช่น หัวไช้เท้า ผักกาดขาว และอาหารรสเผ็ด ควรรับประทานอาหารกลุ่มนี้ในช่วงฤดูหนาว
ช่วยบำรุงปอด ช่วยให้ปอดทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยป้องกันหวัด
ธาตุดิน
คือ อาหารที่มี สีเหลือง เช่น ถั่วเหลือง ข้าวฟ่าง ลูกเดือย เม็ดบัว ฟักทอง ข้าวโพด แครอท เต้าหู้ และอาหารรสหวาน
ช่วยบำรุงระบบย่อยอาหาร ลดอาการท้องอืด ถ่ายเป็นก้อนดีขึ้น รักษาพลังงานดีขึ้น เหมาะกับคนธาตุดินที่มีกล้ามเนื้อมัดใหญ่และแน่น
แต่ระบบย่อยอาหารรวนง่าย
ความสัมพันธ์ของธาตุทั้ง 5
การสร้าง
การหนุนเพื่อให้มีการเกิดและการพัฒนา เป็นตัวสร้าง หรือ ธาตุแม่ ส่วนธาตุที่ถูกสร้าง คือ ธาตุลูก
เช่น ธาตุน้ำ สร้าง ธาตุไม้ ธาตุน้ำจึงเป็นแม่ของธาตุไม้
การข่ม
การคุม หรือ การกดกันไว้