Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร :star:, นายสุรชัย สุทสนธ์ 60205283 - Coggle…
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร :star:
ทักษะการฟังเชิงรุก
จำแนกเป็น 2 กลุ่มใหญ่
ทักษะด้านการรับสาร ได้แก่ การฟัง การอ่าน
ทักษะด้านการส่งสาร ได้แก่ การพูด การเขียน
การฟังเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้การสื่อสารประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวก็ได้
มีผู้วิจัยค้นพบว่า มนุษย์ใช้ทักษะด้านการฟังในวันหนึ่งประมาณ 42% แต่สามารถจำเนื้อหาสาระได้เพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้น
กระบวนการฟัง
การได้ยินเสียงที่มากระทบโสตประสาท (Hearing)
การมีสมาธิต่อสิ่งที่เราได้ยินนั้น (Concentration)
การตอบสนอง (Reaction)
การตีความสิ่งที่ได้ยิน (Interpretation)
การเข้าใจสิ่งที่ได้ยิน (Comprehension)
ประโยชน์ของการฟัง
การฟังเพื่อสังคม
ผู้ฟังสามารถนำความรู้ แง่คิดต่าง ๆ ไปใช้ในการปฏิบัติและสังคมได้ประโยชน์ทางอ้อม
ใช้การฟังเป็นเครื่องมือการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว
การฟังเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์
ผู้ฟังที่ดีควรให้เกียรติผู้พูด
พัฒนาสมรรถภาพของการใช้ทักษะภาษาอื่น ๆ
ปรับปรุงบุคลิกภาพในการพูด
วิธีฝึกฝนและพัฒนาทักษะการฟัง
ทำตัวให้มีความพร้อมที่จะรับฟัง
ฟังอย่างสุภาพและตั้งใจจริง
พยายามหาประโยชน์จากการฟัง
ขณะฟัง ต้องหมั่นฝึกปฏิบัติให้ได้ตามขั้นตอนการฟัง
ต้องรู้จักสังเกตอวัจนภาษาของผู้พูด
พยายามจดบันทึกทุกครั้งในขณะที่ฟัง
ปัญหาการจับใจความสำคัญ
ไม่เป็นคนใจแคบ
ฟังให้ครบ
รักษามารยาทในการฟัง
ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
มนุษย์ใช้สำหรับสืบค้นและเรียนรู้เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ความคิดและประสบการณ์ที่นอกเหนือจากการได้รับรู้และสัมผัสได้ด้วยตนเอง
กระบวนการการอ่าน
การมองเห็นตัวอักษร สัญลักษณ์ หรือข้อความชัดเจนแล้วเข้าใจ
การเข้าใจความหมายของสาร
การมีปฏิกิริยาต่อสาร
การบูรณาการความคิด
จุดมุ่งหมายของการอ่าน
อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน
อ่านเพื่อหาคำตอบ
อ่านเพื่อปฏิบัติตาม
อ่านเพื่อความรู้
ประโยชน์ของการอ่านเชิงวิเคราะห์
ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมดของงานเขียนว่ามีอะไรบ้าง
ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมดของงานเขียนว่ามีอะไรบ้าง
ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมดของงานเขียนว่ามีอะไรบ้าง
ช่วยให้ผู้อ่านนำเอาวิธีการและผลจากการอ่านมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต
ขั้นตอนของการอ่านเชิงวิเคราะห์
ขั้นที่ 1 รวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 2 วิเคราะห์
จำแนกและจับใจความสำคัญ
พิจารณาเนื้อหา
แยกเนื้อหา สาระสำคัญ ข้อเท็จจริง
ขั้นที่ 3 สรุป
ขั้นที่ 4 ประยุกต์และนำไปใช้
ทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์
การถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้ ความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ ผ่านตัวหนังสือ
ลักษณะของงานเขียนที่ดี
มีเอกภาพ
มีเนื้อหาดีและรายละเอียดเด่นชัด
มีความกระจ่าง
มีจินตนาการที่สอดคล้องกับเนื้อหา
มีสัมพันธภาพ
เรื่องราวชวนติดตาม
มีรูปแบบการเขียนเหมาะสมกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา
ใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม
มีจุดมุ่งหมายในการเขียนที่ชัดเจน
ประโยชน์ของการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์
รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และยังเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้เขียน
ช่วยให้มีความรู้ ความซาบซึ้งในวรรณคดีที่มีคุณค่าต่าง ๆ
ช่วยให้รู้จักวงศัพท์มากขึ้น สามารถเลือกใช้ถ้อยคำ สำนวน วลี
ฝึกทักษะและการพัฒนาการใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
เป็นงานที่สร้างความสุขสนุกสนาน
การเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นงานเขียนที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์เฉพาะบุคคล เป็นการถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด และจินตนาการ ที่แปลกใหม่ของแต่ละคน
ทักษะการพูดเชิงวิชาการ
เป็นการสื่อความหมายของมนุษย์โดยอาศัยภาษา ผ่านถ้อยคำ น้ำเสียง และอาจมีกิริยาท่าทางร่วมด้วย เพื่อถ่ายทอดความคิดและความรู้สึกให้แก่กันรู้
องค์ประกอบของการพูด
ผู้ฟังคือผู้รับสาร (Audience)
ผู้พูด (Speaker)
เนื้อหาสาร (Message)
เครื่องมือในการสื่อความหมาย (Communication)
จุดมุ่งหมายของการพูด
เพื่อสอนหรือแจ้งข่าวสารให้ทราบ
เพื่อเกลี้ยกล่อมหรือจูงใจ
เพื่อความบันเทิง
เพื่อกระตุ้นหรือสร้างความประทับใจ
นายสุรชัย สุทสนธ์ 60205283