Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทย อายุ 22 ปี G2P1A0 GA 19 wks 1 day, การบริการฝากครรภ์คุณภาพ 5…
หญิงไทย อายุ 22 ปี G2P1A0
GA 19 wks 1 day
คำนวณวันคลอด
ตุลาคม = 31 วัน
พฤศจิกายน = 30 วัน
ธันวาคม = 31 วัน
มกราคม = 31 วัน
กุมภาพันธ์ = 11 วัน
รวม 134/7 19 week 1 day
คำนวณ E.D.C by ultrasound = 30 กรกฎาคม 64
อายุครรภ์และระดับยอดลูก
12 wks
อยู่ที่ระดับ 1/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
16 wks
อยู่ที่ระดับ 2/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
กรณีศึกษาอายุครรภ์สัมพันธ์
กับระดับยอดมดลูก
เนื่องจากวัดได้ 2+/3มากกว่ากระดูกหัวหน่าว
20 wks
อยู่ระดับสะดือ
28 wks
อยู่ที่ระดับ 2/4 เหนือสะดือ
32 wks
อยู่ที่ระดับ ¾ เหนือสะดือ
38-40 wks
อยู่ระดับ3+/4 เหนือสะดือ
แต่ในสัปดาห์ที่ 40 ลดลงอยู่ที่ระดับ 2/4 เหนือสะดือ แต่ลักษณะท้องจะขยายออกด้านข้าง และศีรษะทารกเข้าช่องเชิงกราน
24 wks
อยู่ที่ระดับ ¼ เหนือสะดือ
Sexual activity
การมีเพศสัมพันธ์หญิงตั้งครรภ์ สามารถมีได้ เพราะ การมีเพศสัมพันธ์ในระยะตั้งครรภ์ ไม่มีข้อห้าม เป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีสำหรับครอบครัว อีกทั้งหญิงตั้งครรภ์รายนี้อยู่ในไตรมาส 2
ลักษณะหญิงตั้งครรภ์ที่มีข้อห้ามในการมีเพศสัมพันธ์
เคยมีประวัติการแท้ง
งดมีเพศสัมพันธ์ในไตรมาสแรก
ของการตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการแท้งบุตร
มีเลือดออกทางช่องคลอด
มีถุงน้ำคร่ำรั่วก่อนกำหนด
คำแนะนำ
1.งดมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 4 สัปดาห์ก่อนคลอด เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนด และ ป้องกันการติดเชื้อ
2.ในระยะท้ายของการตั้งครรภ์มดลูกจะมีขนาดขยายใหญ่ขึ้น และมีความอึดอัดขณะนอนหงาย
ท่าที่แนะนำ
Side by side position
Woman on top position
3.สตรีตั้งครรภ์ ตรวจ VDRL reactive แปลผล การได้รับเชื้อมาก่อนแล้ว แต่เคยได้รับการรักษา
ใช้ถุงยางอนามัย เพื่อป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
เคสกรณีศึกษาคุมกำเนิด โดยทานยา
คุมกำเนิด ชนิดฮอร์โมนรวม
ข้อดี
มีประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์สูง
เมื่อหยุดใช้สามารถกลับมาตั้งครรภ์ได้
ลดอาการปวดประจำเดือน ลดปัญหาสิว
ข้อเสีย
ทำให้ปริมาณน้ำนมลดลง
เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็ๆงเต้านม เมื่อใช้มากกว่า 6
เกิดอาการข้างเคียงได้
•คลื่นไส้ อาเจียน
•เลือดออกกะปริดกะปรอย
•น้ำหนักเพิ่ม
•ความดันโลิหตสูง
คำแนะนำในการรับประทานยา Trifedine
การรับประทาน Triferdineเพื่อป้องกัน การขาดธาตุเหล็ก ขาดไอโอดีน กรดโฟลิก
คำแนะนำในการฝากครรภ์แต่ละครั้ง
ครั้งที่ 2
การดูแล
การดูแลรักษาต่อเนื่องให้ยาเสริมธาตุเหล็ก
ส่งอัลตราซาวด์เพื่อยืนยันอายุครรภ์ ฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยักเข็มที่ 1 หรือ 2 (ถ้ายังไม่ได้รับการฉีดยามาก่อน)
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและการพักผ่อน
ดัชนีมวลกาย
น้ำหนักตัวน้อย (BMI ต่ำากว่า 19.8) พลังงานที่ร่างกายต้องการต่อวัน
= 35-40 แคลอรี/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
น้ำหนักตัวปกติ (BMI=19.8-26) พลังงานที่ร่างกายต้องการต่อวัน = 30 แคลอรี/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
กรณีศึกษามารดา BMI = 20.22
แปลผล น้ำหนักตัวปกติ
พลังงานที่ต้องได้รับจึงเท่ากับ 30 kg/นน 1 kg
โดยตลอดการตั้งครรภ์ ควรเพิ่มขึ้น 11.6-16 กิโลกรัม และกรณีศึกษามาฝากครรภ์ในไตรมาสที่ 2 น้ำหนักจึงควรเพิ่มขึ้น 0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์ ในกรณีจึงมีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักน้อยเกินไป โดยต้องการพลังงานเพิ่มขึ้น 300 กิโลแคลลอรี่ต่อวัน ต้องกหากโภชนาการมารดาไม่เหมาะสมทำให้ทารกเกิดภาวะ IUGR ได้ ในรายนี้น้ำหนักเพิ่มน้อยกว่าเกณฑ์
การพยาบาล
ในระยะตั้งครรภ์แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทานหลากหลายเพื่อให้ได้สารอาหารทั้งคาร์โบไฮเดรต
โปรตีนไขมันและวิตามิน คำนวณ (165(สส.)-100)
0.9 *
25+300=1762.5
คิดเป็นหมวดอาหารเเลกเปลี่ยนได้ดังนี้
นม 2-3 แก้ว
ข้าว-แป้ง 9 ทัพพี
ผัก 6 ทัพพี
ผลไม้ 6 ส่วน
เนื้อสัตว์ 12 ช้อนโต๊ะ
น้ำตาลไม่เกิน 5 ช้อนชา
เกลือไม่เกิน 1 ช้อนชา
น้ำหนักตัวอ้วน(BMI=26-29) พลังงานที่ร่างกายต้องการต่อวัน = 20-25 แคลอรี/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
การฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
เข็มที่ 1ฉีดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
เข็มที่ 2 อีก 1 เดือนห่างจากเข็มแรก และควรฉีดอย่างน้อย 2 สัปดาห์ก่อนคลอด
เข็มที่ 3 อีก 6 เดือนห่างจากเข็ม 2
จากประวัติ dT ฉีดครบเมื่อตั้งครรภ์ที่ครั้งที่1(2ปี)
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
และจิตสังคม
สตรียอมรับการตั้งครรภ์ ( Acceptance of pregnancy)
ท้องโตขึ้น น้ำหนักเพิ่มขึ้น เต้านมขยาย รับรู้การดิ้นของทารก และรักและใส่ใจตนเอง (Narcissim and introversion) แต่งกายเหมาะสม ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์
ซักประวัติ ตรวจครรภ์ ตรวจร่างกาย ตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ เพิ่มเติม
1) การดู(Inspection)- ขนาดหน้าท้อง- ลักษณะทั่วไปของท้อง - แนวของมดลูก- ดูการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ - สังเกตบริเวณเหนือหัวหน่าว ราบหรือบุ๋มลงไป
2) การคลำ ( Palpation)4 ขั้นตอน
First Leopold Handgrip (Fundal grip) คลำได้ OL
Second Leopold Handgrip (Umbilical grip) large part อยู่ด้านซ้ายมารดา
Third Leopold Handgrip (Pawlick’s grip)
Fourth Leopold Handgrip (Bilateral inguinal grip)
ทารก19-22 week ผิวหนังหนาขึ้น มีไขมันเคลือบผิว
รู้สึกทารกดิ้น มีขนอ่อนๆ เซลล์ประสาทพัฒนารวดเร็ว
ไตทารกทำงานได้
ขับของเสียออกมา
น้ำคร่ำมาก ขนาดมดลูกขยาย
มดลูกขยายตัวและกดทับกระเพาะปัสสาวะ
ทารกโตขึ้น ขนาดหน้าท้องโตขึ้น
เกิดได้จากการที่ขนาดของมดลูก
โตขึ้นไปกดเส้นเลือด
ทำให้เลือดจากบริเวณส่วนปลายมีการไหลเวียนกลับไม่ดี
เกิดการคั่งของน้ำ และเลือดที่บริเวณข้อเท้าและเท้า
อาการบวม สตรีตั้งครรภ์เมื่อเข้าสู่ระยะท้ายของการตั้งครรภ์ จะพบอาการบวมที่ข้อเท้า และเท้าได้ บวม 1+
ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ
และความดันโลหิตน้อยกว่า
140/90 mmHg
ถือว่าเป็นอาการบวมปกติ
ทารกโตขึ้น การปรับสมดุลโดยให้กระดูกสันหลังโค้งแอ่น
รวมทั้งกระดูกกสันหลังส่วนล่างยืดขยาย
อาการปวดหลัง
อาหารอยู่ในลำไส้เล็กนานขึ้น
การดูดน้ำกลับเพิ่มขึ้น
ท้องผูก
อายุในรายนี้เหมาะสมแก่การตั้งครรภ์เนื่องจากอายุที่เหมาะสมแก่การตั้งครรภ์ 20-34 ปี และเป็นครรภ์ที่ 2 ขนาด ครรภ์จะแสดงให้เห็นชัดขึ้น เพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องกระชับน้อยลง
CC: มาตามนัดเพื่ออัลตราซาวด์
แรกรับ V/S: BT 36.5 องศา, BP 94/59 mmHg,
PR 100 bpm, RR 20 bpm.
น้ำหนักก่อนคลอด 55 ปัจจุบัน 57 กิโลกรัม
ส่วนสูง 165 cm. ไม่มีโรคประจำตัว
ฝากครรภ์คุณภาพ
ก่อน 12 สัปดาห์
20 สัปดาห์
26 สัปดาห์
32 สัปดาห์
38 สัปดาห์
การบริการฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง ดังตารางต่อไปนี้
ครั้งที่ 1 ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
2 เมื่ออายุครรภ์ 20 สัปดาห์
3 เมื่ออายุครรภ์ 26 สัปดาห์
5 เมื่ออายุครรภ์ 38 สัปดาห์
4 เมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์
การส่งเสริมสุขภาพ สตรีตั้งครรภ์และทารก
การดูแลด้านจิตใจ
เปิดโอกาสให้หญิงตั้งครรภ์ได้ระบาย
แนะนำให้สามีดูแลอย่างใกล้ชิด คอยเสริมสร้างกำลังใจให้หญิงตั้งครรภ์
บทบาทสามีในการดูแลหญิงตั้งครรภ์
ด้านจิตใจ
พาหญิงตั้งครรภ์ไปพบแพทย์ ,มีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ รวมถึงชื่นชมและให้กำลังใจ
ด้านร่างกาย
บีบนวด
ดูแลเฝ้าระวังสัญญาณผิดปกติในหญิงตั้งครรภ์
เตือนในสิ่งสำคัญ
การเพิ่มของฮอร์โมนโพรเจสเตอโรน
(Progesterone) และขนาดของมดลูกที่
ใหญ่ขึ้นไปกดทับลำไส้
ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวช้าลง
อาการปัสสาวะบ่อย