Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
น้ำและอาหาร
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสีย
อาหารที่ร่างกายได้รับ
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ
ยา
ยาที่ขับออกทางระบบปัสสาวะจะส่งผลให้สีของน้ำปัสสาวะ เปลี่ยนแปลง
อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ
วัยเด็ก เด็กทารกกระเพาะปัสสาวะมีความจุน้อย
ผู้สูงอายุ จากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายตามวัย
ด้านจิตสังคม
ความเครียดและความวิตกกังวลกระตุ้น ให้อยากถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น
สังคมและวัฒนธรรม
สังคมและวัฒนธรรมประเพณี รวมถึงการอบรมเลี้ยงดูในครอบครัวมีอิทธิพลต่อนิสัยการขับถ่ายของบุคคล
ลักษณะท่าทาง
โดยปกติผู้ชายจะใช้ท่ายืนซึ่งพบว่าผู้ชายบางรายจะมี ปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะเมื่ออยู่ในท่านอนราบ ส่วนผู้หญิงจะใช้ท่านั่ง
กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้เป็นเวลานาน
สตรีในภาวะหมดประจำเดือน
ผู้ที่นอนอยู่บนเตียงนาน ๆ
การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ
การตรวจวินิจฉัยในระบบทางเดินปัสสาวะ
การฉีดยาชาที่ไขสันหลัง
ความเครียดและความวิตกกังวลในกระบวนการรักษาทำให้ร่างกายหลั่ง ADH
พยาธิสภาพ
พยาธิสภาพของโรคหลายชนิดมีผลต่อ การสร้างปัสสาวะทั้งปริมาณและคุณภาพ
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะได้
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง
ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
ผู้ป่วยที่ใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะเป็นเวลานานมีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาต จะบวม แดง และถลอก ดังนั้น ต้องเปลี่ยนถุงยางอนามัยให้ผู้ป่วยทุกวัน ก่อนที่จะเช็ดตัวหรืออาบน้ำ แล้ว ใช้น้ำกับสบู่ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ เช็ดให้แห้ง หลังจากที่เช็ดตัวหรืออาบน้ำเสร็จแล้ว จึงใส่ ถุงยางอันใหม่
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน
ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน
คีโตนในปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นหนอง
โปรตีนในปัสสาวะ
ไขมันในปัสสาวะ
น้ำตาลในปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นเลือด
นิ่วในปัสสาวะ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินผลการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การประเมิน
ตรวจร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะ
วิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
การสวนปัสสาวะ
ชนิดของการสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ
อุปกรณ์
กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ
Transfer forceps
น้ำกลั่นปลอดเชื้อ
ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด
สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้
โคมไฟ หรือไฟฉาย
ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ
พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด หม้อนอน ถุงมือสะอาด 1 คู่ ถุงกระดาษหรือ ถุงพลาสติกสำหรับทิ้งสำลีใช้แล้ว
สายสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
วิธีการสวนปัสสาวะ
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ
จัดท่า ปิดตา คลุมผ้าผู้ป่วย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาด
แขวนถุงรองรับปัสสาวะกับขอบเตียงให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
วางชุดสวนปัสสาวะลงบนเตียงระหว่างขาของผู้ป่วย
กั้นม่าน และจัดให้มีแสงสว่างเพียงพอ
ใช้ Transfer forceps จัดวางเครื่องใช้เรียงไว้ตามลำดับ
ล้างมือให้สะอาด เตรียมของใช้ ไปที่เตียงผู้ป่วย
เทน้ำยาลงในถ้วย บีบ KY-jelly ลงในผ้าก๊อซ
บอกผู้ป่วยอธิบายให้เข้าใจถึงความจำเป็นของการสวนปัสสาวะ
ฉีกซองใส่สายสวนปัสสาวะแล้วใช้ Transfer forceps คีบสายสวนออกจากซอง
ฉีกซองกระบอกฉีดยาลงในชุดสวนปัสสาวะด้วยวิธีปลอดเชื้อ
เปิดซองถุงมือและใส่ถุงมือด้วยวิธีปลอดเชื้อ
ตรวจสอบประสิทธิภาพของบอลลูนที่ปลาย Foley catheter
คลี่และวางผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ใช้มือซ้ายแหวก Labia ให้กว้างจนเห็นรูเปิดของท่อปัสสาวะ
ใช้มือข้างที่ถนัดหยิบสายสวนปัสสาวะหล่อลื่น KY-Jelly
ยกภาชนะรองรับปัสสาวะวางบนผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางระหว่างขาผู้ป่วย
ใช้ Forceps ที่เหลือหรือมือข้างที่ถนัดจับสายสวนปัสสาวะให้มั่นคง
ค่อยๆ สอดสายสวนปัสสาวะเข้าไปในรูเปิดของท่อปัสสาวะ
เช็ดบริเวณ Vulva ให้แห้งด้วยสำลีที่เหลือ
สอดปลายสายของถุงรองรับปัสสาวะลอดบริเวณเจาะกลางออกมา
ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดที่แหวก Labia (ในเพศหญิง) หรือ จับ Penis (ในเพศชาย) อยู่เลื่อนมาจับสายสวน
เมื่อใส่สายสวนเข้าไป 2-3 นิ้ว (เพศหญิง) หรือ 6-8 นิ้ว (เพศชาย) จะเห็นปัสสาวะ ไหล
ถอดถุงมือ ติดพลาสเตอร์ยึดสายสวนกับต้นขาของผู้ป่วย
เก็บ Set สวนปัสสาวะออกจากเตียง
เก็บของใช้ไปทำความสะอาด
การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
ต่อ Syringe เข้ากับหางของสายสวนปัสสาวะที่ใช้สำหรับใส่น้ำกลั่นแล้วดูดน้ำกลั่น
ออกจนหมด
บอกผู้ป่วยให้หายใจเข้าออกลึกๆ เพื่อให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย ขณะที่ค่อย ๆ ดึงเอาสายสวนออก
บอกผู้ป่วย ใส่ถุงมือทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และบริเวณ Urethra meatus
ให้สะอาด
ใช้กระดาษชำระเช็ดบริเวณ Perineum ให้แห้ง
เตรียมเครื่องใช้
สังเกตลักษณะ จำนวนปัสสาวะในถุงก่อนเอาไปเททิ้ง ลงบันทึกวันเวลาที่เอาสาย สวนออก
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ สังเกตความผิดปกติของผู้ป่วย
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื้อ Sterile swab น้ำยาฆ่าเชื้อ
ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ใช้ Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้นาน ประมาณ 15–30 นาที
ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงตำแหน่งที่ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกมาประมาณ 10 มล. ส่งตรวจเพาะเชื้อทันที
วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
การเก็บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงแล้ว ส่งตรวจ เริ่มเก็บปัสสาวะเวลา 08.00 น. โดยให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะทิ้งก่อนเริ่มเก็บ และรวบรวม น้ำปัสสาวะที่เก็บได้หลัง 08.00 น. จนครบกำหนด 24 ชั่วโมง
วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำสะอาด ล้างมือให้สะอาด และเช็ดให้แห้ง ให้ ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมาประมาณครึ่งภาชนะ หรือประมาณ 30-50 ml. โดยห้ามสัมผัสด้านในของภาชนะ แล้วปัสสาวะช่วงสุดท้ายทิ้งไป นำปัสสาวะไปส่งให้เจ้าหน้าที่โดยเร็วที่สุด
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
ลำปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
ปัสสาวะประมาณ 4-6 ครั้งต่อวัน
มักถ่ายปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้าหลังตื่นนอน
ตลอดการถ่ายปัสสาวะจะไม่มีอาการเจ็บปวด
เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที
การถ่ายปัสสาวะจะเว้นช่วงห่างประมาณ 2–4 ชั่วโมงในเวลากลางวัน และ 6-8 ชั่วโมง ในเวลากลางคืน
กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที
จำนวนปัสสาวะประมาณ 250-400 มิลลิลิตรต่อครั้ง
อยากถ่ายปัสสาวะเมื่อมีปริมาณปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ 100-400 มิลลิลิตร
Residual urine ไม่ควรเกิน 50 มิลลิลิตร ในผู้ใหญ่ และไม่ควรเกิน 100 มิลลิลิตรในผู้สูงอาย
ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
สีเหลืองจางจนถึงสีเหลืองเข้ม สีเหลืองฟางข้าว หรือสีเหลืองอำพัน
มีความเป็นกรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
ลักษณะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
มีความถ่วงจำเพาะ
ปริมาณปัสสาวะปกติในผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
เมื่อตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ ไม่พบ Casts, Bacteria, Albumin หรือน้ำตาล ไม่พบเม็ดเลือดแดง
ปัสสาวะใหม่มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
ไม่มีปัสสาวะ
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ
ปัสสาวะมากกว่าปกติ
ปัสสาวะตอนกลางคืน
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลำบาก
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย
ปัสสาวะรดที่นอน
ปัสสาวะคั่ง
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือกลั้นปัสสาวะไม่ได้
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้ำได้
ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ