Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
อายุ/พัฒนาการวัยต่างๆ
เด็กทารก
กระเพาะปัสสาวะน้อย ทำให้ปัสสาวะบ่อยครั้ง
เด็กวัยก่อนเรียน
เริ่มควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้เอง
เด็กวัยเรียน
ปัสสาวะ 6-8 ครั้งต่อวัน
(หากอายุมากกว่า5ปีแลัวยังปัสสาวะรดที่นอน ควรรีบหาสาเหตุ)
ผู้สูงอายุ
เพราะมีน้ำปัศศาวะเพียง 150-200 มิลลิลิตร กระเพาะปัสสาวะบีบตัวง่าย ทำให้ปัสสาวะบ่อยครั้ง
มักตื่นมาขับถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
น้ำและอาหาร
2.1 จำนวนน้ำที่ร่างการสูญเสีย
เหงื่อ
เสียเลือดมาก
อาเจียน
ท้องเสีย
2.2 อาหารที่ร่างกายได้รับ
อาหารรสเค็ม
เครื่องดื่มคาเฟอิน
ยา
ยาขับปัสสาวะขับออกทางระบบปัสสาวะ
ส่งผลให้สีของน้ำปัสสาวะเปลี่ยนแปลง
ยาที่มีฤทธิ์ทางระบบประสาท
จะรบกวนการขับถ่ายปัสสาวะทำให้ปัสสวาะคั่ง
ด้านจิตสังคม
ความเครียดและความวิตกกังวล
ความเจ็บปวด
สังคมและวัฒนธรรม
การอบรมเลี้ยงดูจากคนในครอบครัวมีอิทธิพล
ต่อนิสัยการขับถ่าย
ลักษณะท่าทาง
ผู้ชายใช้ท่ายืน
ผู้หญิงใช้ท่านั่ง
กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
สตรีภาวะหมดประจำเดือน
ผู้ที่นอนอยู่บนเตียงนานๆร่างกายไม่ได้เลื่อนไหว
พยาธิสภาพ
โรคต่างๆ เช่น ความดัน เบาหวาน
ในสตรีตั้งครรภ์
การผ่าตัดและการตรวจเพื่อวินิจฉัย
การส่องกล้องในทางเดินปัสสาวะ
การได้รับยาสลบ
ยาแก้ปวดชนิดเสพติด
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
และการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที
ต้องสามารถกลั้นได้ และเมื่อจะปัสสาวะก็จะ
สามารถปัสสาวะได้ทันที
เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที และไม่มีอาการเจ็บปวด
ล้าปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
ปัสสาวะประมาณ 4-6 ครั้งต่อวัน
เว้นช่วงห่างประมาณ 2–4 ชั่วโมง ในเวลากลางวัน
และ 6-8 ชั่วโมง ในเวลากลางคืน
ปัสสาวะไม่ควรน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร ใน 1 ชั่วโมง
ไม่ควรเกิน 50 มิลลิลิตร ในผู้ใหญ่
และไม่ควรเกิน 100 มิลลิลิตรในผู้สูงอายุ
ลักษณะของปัสสาวะ
ใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
ผู้ใหญ่ ปัสสาวะวันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
สีเหลืองอ้าพัน
เป็นกรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
มีความถ่วงจ้าเพาะ ประมาณ 1.015-1.025
ไม่พบ Casts, Bacteria, Albumin
มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
ไม่มีปัสสาวะ
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ
ปัสสาวะมากกว่าปกติ
ปัสสาวะตอนกลางคืน
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลำบาก
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย
ปัสสาวะรดที่นอน
ปัสสาวะคั่ง
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะเป็นเลือด มีเม็ดเลือดแดงปน
น้้าตาลในปัสสาวะ มีน้้าตาลปนออกมาในน้้าปัสสาวะ
โปรตีนในปัสสาวะ
คีโตนในปัสสาวะ
ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน
ปัสสาวะเป็นหนอง
นิ่วในปัสสาวะ
ไขมันในปัสสาวะ
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมให้ได้รับน้้าอย่างเพียงพอ
ควรได้รับน้้าสะอาด อย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ต้องได้รับน้้าเพิ่มมากขึ้น
โรคหัวใจวายหรือไตวาย จะต้องจ้ากัดน้้าให้น้อยลง
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ฝึกถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง
ดื่มน้้า 2 แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ และปัสสาวะทิ้งทันที หลังจากมีเพศสัมพันธ์
อาบน้้าด้วยฝักบัวแทนอาบในอ่างอาบน้้า
ใส่ชุดชั้นในที่ท้าด้วยผ้าฝ้ายดีกว่าท้าด้วยไนล่อน
หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงที่แน่นหรือคับเกินไป
เพิ่มความเป็นกรดของปัสสาวะ ทานวิตามินซี ดื่ม
น้้าผลไม้ที่เป็นกรด
ใช้ Estrogen cream ตามแผนการรักษาของแพทย์
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อท้างานอย่างเต็มที่
การทำ Kegel exercise
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
กรณีปัสสาวะไม่ออก
จัดให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวในที่มิดชิดขณะถ่ายปัสสาวะ
ช่วยให้ผู้ป่วยได้ถ่ายปัสสาวะในท่าที่สะดวกเป็นธรรมชาติ
การเปิดก๊อกน้้าให้ได้เห็น
ใช้ความร้อนช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
ให้เวลาในการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่เร่งรัดผู้ป่วยเกินไป
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
ใช้วิธีกระตุ้นให้ผู้ป่วยไปปัสสาวะ ชมเชย และให้ก้าลังใจ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้้าได้
ใช้หม้อนอน (Bedpan) ในกรณีผู้ป่วยหญิง
ใช้กระบอกปัสสาวะ (Urinal) ในกรณีผู้ป่วยชายมา
การสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์
ระบายเอาน้้าปัสสาวะออก
ช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ตรวจสอบจำนวนน้้าปัสสาวะ
เก็บน้้าปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
ศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
ตรวจสอบจ้านวนน้้าปัสสาวะ
ชนิด
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
เป็นการใส่สายสวนปัสสาวะผ่านทางท่อปัสสาวะ
เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เพื่อระบายน้้าปัสสาวะออกจากกระเพาะปัสสาวะ เมื่อกระเพาะปัสสาวะว่างไม่มี
น้้าปัสสาวะไหลออกมาแล้วจะถอดสายสวนปัสสาวะออก
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ
เป็นการสอดใส่สายสวนปัสสาวะชนิด Foley catheter ผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะแล้วคาสายสวน ปัสสาวะไว้
บอกความจ้าเป็นวิธีปฏิบัติตัวของผู้ป่วย และประโยชน์ของการสวนปัสสาวะ
ล้างมือให้สะอาด เตรียมของใช้ ไปที่เตียงผู้ป่วย
กั้นม่าน และจัดให้มีแสงสว่างเพียงพอ
แขวนถุงรองรับปัสสาวะกับขอบเตียงให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
จัดท่า
ผู้หญิง Dorsal recumbent position
ผู้ชาย Supine position
ท้าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาด
สายสวนปัสสาวะ
Straight catheter = ใช้สวนเป็นครั้งคราว
Foley catheter = ใช้สวนคาสายสวนปัสสาวะ
ขนาด
ผู้หญิงใช้ขนาด 14-16 Fr.
ผู้ชายใช้ขนาด 16-20 Fr.
เด็กใช้ขนาด 8-10 Fr.
ผู้สูงอายุใช้ขนาด 22-24 Fr.
การพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัย
เพื่อระบายปัสสาวะ
วัตถุประสงค์
รักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง
เนื่องจากเปียกปัสสาวะบ่อย ๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนานๆ
ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
ถ้าใส่นาน ๆ มีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาตจะบวม แดง ถลอก หรือมีสีเปลี่ยนไป ให้งดใส่ชั่วคราว และรายงานแพทย์
คอยดูแลให้ปัสสาวะระบายลงสู่ถุงรองรับปัสสาวะได้สะดวก โดยต้องคอยระวัง ไม่ให้ถุงยางบิดเป็นเกลียว หรือท่อสายยางของถุงรองรับปัสสาวะหัก พับงอ
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
ให้ผู้ป่วยท้าความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำสะอาด ล้างมือให้สะอาด และเช็ดให้แห้ง ให้ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมาประมาณ ครึ่งภาชนะ
หรือประมาณ 30-50 ml.
วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
ใช้ Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้ นานประมาณ 15–30 นาที
เพื่อให้มีปัสสาวะใหม่เก็บอยู่ก่อน
เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื้อ
Sterile swab น้ำยาฆ่าเชือ
ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน้ำยาฆ่าเชือ
ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงต้าแหน่งที่ท้าความ สะอาดฆ่าเชื้อไว้
แล้วดูดปัสสาวะออกมาประมาณ 10 มล.
ส่งตรวจเพาะเชื้อทันที
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก หลังผ่าตัดได้รับการคาสายสวนปัสสาวะไว้ 7 วัน ลักษณะปัสสาวะสีเหลืองขุ่น มีตะกอน
สัญญาณชีพ 38 องศาเซลเซียส ชีพจร 98 ครั้งต่อนาที
หายใจ 20 ครั้ง ต่อนาที ความดันโลหิต 120/70 มิลลิเมตรปรอท
การประเมิน
การซักประวัติ
แบบแผนและลักษณะการขับถ่ายปัสสาวะปกติ จำนวนครั้งใน 24 ชั่วโมง ลักษณะและสีของปัสสาวะ ปริมาณน้้าดื่มต่อวัน
ยาที่รับประทาน ประจ้า โรคประจ้าตัว เบาหวาน ความดันความเครียด กิจกรรมที่ท้าประจ้าวัน เช่น การออกก้าลังกาย ลักษณะอาหารที่รับประทานประจ้า ความสามารถใน
การทำกิจวัตรประจ้าวัน
การตรวจร่างกาย
การเคาะบริเวณไต เพื่อหาต้าแหน่งที่ปวด
การคล้าและเคาะกระเพาะปัสสาวะ ตรวจสี ลักษณะ
และความ ตึงตัวของผิวหนัง และภาวะบวม
การวิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
= มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การวางแผนการพยาบาล
และ 4. การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อที่ระบบ
ทางเดินปัสสาวะทั้งก่อนและหลังให้การพยาบาล
ได้แก่ ปัสสาวะสีขาว ขุ่น มีตะกอน
ประเมินสัญญาณชีพ
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก Aseptic technique
Force oral fluid มากกว่า 2,000-3,000มิลลิลิตรต่อวัน ถ้าไม่มีข้อห้าม
ทำความสะอาดบริเวณฝีเย็บให้สะอาด วันละ 2 ครั ง
เช้า-เย็น และหลังถ่ายอุจจาระทุกครั้ง โดยเฉพาะรอบๆ
รูเปิดของท่อปัสสาวะ ระวังอย่าดึงสายสวนขณะท้าความสะอาดเพราะจะท้าให้ท่อปัสสาวะ
และผนังกระเพาะปัสสาวะได้รับบาดเจ็บ
ใช้สบู่อ่อนและน้ำหรือน้ำยาท้าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
รักษาระบบการระบายปัสสาวะให้เป็นระบบปิดอยู่เสมอ
ไม่ปลดสายสวนและท่อสายยาง ของถุงรองรับปัสสาวะออกจากกัน เพื่อเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
อย่าปล่อยให้ปัสสาวะเต็มถุงรองรับ ควรเททิิ้้ง
อย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
ส่งเสริมให้ปัสสาวะเป็นกรด เพื่อลดความเสี่ยงต่อการ
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และป้องกันการเกิดนิ่ว
เปลี่ยนสายสวนปัสสาวะควรทำเมื่อจ้าเป็น
ดูแลให้ถุงรองรับปัสสาวะอยู่ต่้ากว่าระดับกระเพาะปัสสาวะเสมอ
ตรวจดูสายสวนและท่อระบายของถุงรองรับปัสสาวะ
เป็นระยะไม่ให้หักพับงอ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกขึ้นเคลื่อนไหวและออกก้าลังกาย
ประเมินผลการพยาบาล
ภายหลังให้การพยาบาลควรมีการประเมินทุก ครั้ง
ตามเกณฑ์การประเมินผล เช่น ปัสสาวะสีเหลืองใส
ไม่มีตะกอน สัญญาณชีพ ปกติ ผลการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการไม่พบเชื้อ