Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการปัญหาสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตามกฏหมาย - Coggle Diagram
การจัดการปัญหาสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตามกฏหมาย
ลำดับชั้นของกฏหมายในประเทศไทย
กฏหมายที่รัฐธรรมนูญให้อำนาจแก่ฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารเป็นผู้ออก
ประมวลกฏหมาย พระราชบัญญัติ พระราชกกำหนด
กฏหมายที่ฝ่ายบริหารเป็นผู้ออก
พระราชกฤษฏีกา กฏกระทรวง
กฏหมายแม่บทที่มีศักดิ์สูงสุด
รัฐธรรมนูญ
กฏหมายที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ออก
เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบังคับสุขาภิบาล ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา
พรบ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535
สภาพการบังคับใช้กฏหมาย
ให้เป็นไปตามประกาศของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
มีผลบังคับใช้ในเขตเทศบาล สุขาภิบาล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา
จะกำหนดโทษปรับเกินกว่า 500 บาทมิได้
ขอบเขตความหมาย
สถานสาธารณะ
สถานที่ที่จัดไว้เป็นสาธารณะสำหรับประชาชนใช้
ถนน
ทางเดินรถ ทางเท้า ขอบทาง ไหล่ทาง ทางข้ามตามกฏหมาย
ที่สาธารณะ
สาธารณะสมบัติของแผ่นดิน
อำนาจในการควบคุมดูแลของราชการส่วนท้องถิ่น
กรณีที่มีการกระทำผิดเกิดขึ้นทำให้เกิดความสกปรกให้เจ้าหน้าที่และเจ้าพนักงานท้องถิ่นร่วมดำเนินการเพื่อขจัด
เจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสอบสวนมีอำนาจเปรียบเทียบปรับได้
เจ้าพนักงานท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลตามบทบัญญัติมาตรา 44
ฐานความผิดตามพระราชบัญญัติ
ที่เกี่ยวกับถนนหรือสถานที่สาธารณะ
ที่เกี่ยวกับที่สาธารณะหรือสถานที่สาธารณะ
ที่เกี่ยวกับการรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
พรบ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
หลักการควบคุม
กฏหมายกำหนดให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ดูแลที่หรือทางสาธารณะ
กฏหมายว่าด้วยการสาธารณสุขไม่เพียงแต่ดูแลเกี่ยวกับความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการใช้ที่
แต่ยังควบคุมดูแลด้านสุขลักษณะของสินค้าจำหน่ายด้วย
อำนาจในการควบคุมของ อบต.
ผู้ที่ประสงค์จะประกอบกิจการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะในเขตท้องถิ่นใด
ต้องขออนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นเสียก่อน
พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
การกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม
น้ำบาดาล
น้ำทะเลชายฝั่ง ปากแม่น้ำ
อากาศในบรรยากาศทั่วไป
ระดับเสียงและความสั่นสะเทือนโดยทั่วไป
น้ำในแม่น้ำลำคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ แหล่งน้ำสาธารณะอื่นๆ
การวางแผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ผู้ว่าราชการจังหวัดในท้องที่ที่เป็นเขตคุ้มครองสิ่งแวดล้อมหรือเขตควบคุมมลพิษ
มีหน้าที่จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด
การควบคุมให้มีการรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
โครงการ/กิจการที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์
2.การอุตสาหกรรม
3.โรงแรมหรือสถานตากอากาศ
1.การทำเหมืองตามกฏหมายว่าด้วยแร่
4.โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
ระบบการขนส่งปิโตรเลียมและน้ำมันเชื้อเพลิงทางท่อ
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
12(1) การผลิต การบรรจุ การสะสม การขนส่งกรด ด่าง สารออกซิไดช์ ตัวทำละลาย
6(2) การหลอม การหล่อ การถลุงแร่ หรือโลหะทุกชนิด
12(2) การผลิต การบรรจุ การสะสม การขนส่งก๊าซ
12(16) การผลิต การบรรจุ การสะสม การขนส่งสารกำจัดศัตรูพืช
12(3) การผลิต การกลั่น การสะสม การขนส่งน้ำมันปิโตรเลียม
5(7) การผลิต การสะสมปุ๋ย
6(6) การทำเหมืองแร่ การสะสม การแยก การคัดเลือก การล้างแร่
3(13) การผลิต การแบ่งบรรจุน้ำตาล
9(3) การประกอบกิจการโรงแรม กิจการกำจัดสิ่งปฏิกูล