Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
บทที่9
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
1.5 สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factor)
1.6 ลักษณะท่าทาง (Body position)
1.4 ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
1.7 กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity and Muscle tone)
1.3 ยา (Medication) เช่น ยาที่ขับออกทางระบบปัสสาวะจะส่งผลให้สีของน้ำปัสสาวะเปลี่ยนแปลง
1.8 พยาธิสภาพ (Pathologic conditions)
1.2 น้ำและอาหาร (Food and fluid) ร่างกายได้รับน้ำมากปัสาสาวะก็จะมาก อาหารที่มีความเค็มมาก ปัสสาวะจะออกน้อยลงและเข้มข้นมาก
1.9 การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ
1.1 อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ
1) วัยเด็ก เด็กทารกกระเพาะปัสสาวะมีความจุน้อย
2) ผู้สูงอายุ ปัสสาวะในตอนกลางคืน (Nocturia)
3.ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
3.5 ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuria หรือ Choluria)
3.6 ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)
3.4 คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
3.7 ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
3.3 โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
3.8 นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
3.2 น้ำตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
3.9 ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)
3.1 ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
4.4 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
4.5 สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
4.3 ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
4.6 เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
4.2 ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะพยาบาลควรสอนและแนะนำผู้ป่วยในการป้องกัน
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
4.7 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้ำได้
4.1 ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ 6-8 แก้ว หรือประมาณ 1,500-2,000 มิลลิลิตร
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
2.1 แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
1) แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
2.2 การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
5) ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลำบาก (Dysuria)
6) ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย (Pollakiuria)
4) ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia)
7) ปัสสาวะรดที่นอน (Enuresis)
3) ปัสสาวะมากกว่าปกติ
8) ปัสสาวะคั่ง (Urinary retention)
2) ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ
9) กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือกลั้นปัสสาวะไม่ได
1) ไม่มีปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะ เป็นการใส่สายสวนปัสสาวะ (Urinary catheter) ที่ปลอดเชื้อผ่านท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะเพื่อระบายปัสสาวะออกมา
5.1 วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
4) เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
5) เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
3) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
6) เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
2) เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
7) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
1) เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
5.2 ชนิดของการสวนปัสสาวะ
1) การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
2) การสวนคาสายสวนปัสสาวะ
5.3 อุปกรณ์
1) ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด
2) ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ
3) สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้ เช่น KY-jelly เป็นต้น
4) น้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) และน้ำยาทำลายเชื้อ
5) กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (Sterile syringe) ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน
6) Transfer forceps
7) ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด (Sterile urine bag) 1 ใบ
8) โคมไฟ หรือไฟฉาย
9) พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
10) สายสวนปัสสาวะ
5.4 วิธีการสวนปัสสาวะ
1) การสวนคาสายสวนปัสสาวะ
2) การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
7.1 วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง
=ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมาประมาณครึ่งภาชนะ หรือประมาณ 30-50 ml.
7.2 วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
3) ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
4) ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงตำแหน่งที่ทำความสะอาดฆ่าเชื้อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกมาประมาณ 10 มล. ส่งตรวจเพาะเชื้อทันที
2) เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื้อ Sterile swab น้ำยาฆ่าเชื้อ
1) ใช้Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้นานประมาณ 15–30 นาที
7.3 วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมงง
=เป็นการเก็บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงแล้วส่งตรวจ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
8.3 การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อลดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะของผู้ป่วย
8.4 ประเมินผลการพยาบาล
8.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล
8.1 การประเมิน
2) ตรวจร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะ
3) วิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) การซักประวัติ
หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ
6.1 วัตถุประสงค์
2) ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
3) ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
1) เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง เนื่องจากเปียกปัสสาวะบ่อย ๆ
4) ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
ผู้ป่วยที่ใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะเป็นเวลานานมีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาตจะบวม แดง และถลอก ดังนั้น ต้องเปลี่ยนถุงยางอนามัยให้ผู้ป่วยทุกวัน
ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ที่บ้าน ไม่สามารถหาซื้อถุงยางอนามัยได้ ญาติอาจใช้ถุงพลาสติกใช้แทนให้พอเหมาะ