Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factor)
การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัวมีอิทธิพลต่อนิสัยการขับถ่ายของบุคคล
ลักษณะท่าทาง (Body position)
ผู้ชายจะใช้ท่ายืนผู้หญิงจะใช้ท่านั่งถ้าจ้าเป็นต้องใช้หม้อนอนบนเตียงราบก็อาจจะไม่สามารถขับถ่ายปัสสาวะได้หมด
ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
ความเจ็บปวดมีผลยับยั้งการถ่ายปัสสาวะ
ความรู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะเมื่อได้ยินคนพูดเรื่องถ่ายปัสสาวะหรือได้ยินเสียงน้้าไหล
ความเครียดและความวิตกกังวลกระตุ้นให้อยากถ่ายปัสสาวะบ่อยความกลัวที่รุนแรงอาจท้าให้กลั้นปัสสาวะไม่ได้
กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity and Muscle tone)
ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้เป็นเวลานาน ยืดขยายท้าให้กระเพาะปัสสาวะตึงตัวน้อยลง เนื่องจากปัสสาวะไหลตลอดเวลา ท้าให้กระเพาะปัสสาวะไม่มีโอกาส
สตรีในภาวะหมดประจ้าเดือนฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง ท้าให้กระเพาะปัสสาวะตึงตัวลดลงด้วย
การออกก้าลังกายสม่้าเสมอท้าให้การเผาผลาญเพิ่มขึ้น มีการผลิตปัสสาวะมากขึ้นและถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น และกล้ามเนื้อหูรูดท้าหน้าที่ได้ดี
ผู้ที่นอนอยู่บนเตียงนาน ๆ ร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว มีผลท้าให้ความตึงตัวของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะและกล้ามเนื้อหูรูดลดลงการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะไม่ดีและมีปัสสาวะตกตะกอนได้
ยา (Medication)
ยาที่ขับออกทางระบบปัสสาวะจะส่งผลให้สีของน้้าปัสสาวะเปลี่ยนแปลง ยาที่มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติจะรบกวนการขับถ่ายปัสสาวะท้าให้ปัสสาวะคั่ง
พยาธิสภาพ (Pathologic conditions)
โรคหลายชนิดมีผลต่อการสร้างปัสสาวะทั้งปริมาณและคุณภาพ เช่นนิ่ว ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ในสตรีตั้งครรภ์มดลูกมีการขยายตัวขึ้นกดทับกระเพาะปัสสาวะ ความจุของกระเพาะปัสสาวะลดลงจึงรู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะบ่อย
น้ำและอาหาร (Food and fluid)
จ้านวนน้้าที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)ถ้าร่างกายได้รับน้้ามากจ้านวนครั้งของการขับถ่ายและปริมาณปัสสาวะก็จะมาก ลักษณะของปัสสาวะก็จะเจือจาง
จ้านวนน้้าที่ร่างกายสูญเสีย (Loss of body fluid)การสูญเสียเหงื่อ มีไข้สูง เสียเลือดมาก อาเจียน ท้องเสียก็มีผลต่อลักษณะ จ้านวนครั้ง และปริมาณปัสสาวะ
อาหารที่ร่างกายได้รับ (Food intake)อาหารที่มีความเค็มมาก (มีปริมาณโซเดียมสูง) ปัสสาวะจะออกน้อยลงและเข้มข้นมาก เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนจะท้าให้ปัสสาวะบ่อยขึ้น
การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ (Surgical and diagnostic procedure)
การฉีดยาชาที่ไขสันหลัง ส่งผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะของผู้ป่วย ท้าให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะ การได้รับยาสลบ ยาแก้ปวดชนิดเสพติด(Narcotic analgesics)ท้าให้อัตราการกรองที่Glomerulusลดลง ส่งผลให้ปริมาณปัสสาวะลดลง
การตรวจวินิจฉัยในระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น การส่องกล้องเพื่อตรวจในระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Cystoscopy) อาจมีผลท้าให้มีเลือดออกในปัสสาวะ
ความเครียดและความวิตกกังวลในกระบวนการรักษาท้าให้ร่างกายหลั่ง ADH และยังท้าให้มีการเพิ่มขึ้นของ Aldosteroneท้าให้เกิดการคั่งของโซเดียมและน้้า
อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ (Developmental growth)
วัยเด็ก
เด็กวัยก่อนเรียนเริ่มควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้เอง
เด็กวัยเรียนระบบขับถ่ายปัสสาวะเจริญเต็มที่ ปัสสาวะ 6-8 ครั้งต่อวันถ้าอายุมากกว่า 5ปีไปแล้วยังมีปัสสาวะรดที่นอน ควรหาสาเหตุว่าเกิดจากอะไร เช่น ความเครียด การเจ็บป่วย
เด็กทารกกระเพาะปัสสาวะมีความจุน้อย ปัสสาวะบ่อยครั้ง
ผู้สูงอายุมีน้้าปัสสาวะเพียง 150-200 มิลลิลิตร กระเพาะปัสสาวะก็จะบีบตัวท้าให้รู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะและท้าให้ถ่ายปัสสาวะบ่อยครั้งขึ้น และมักจะตื่นขึ้นมาปัสสาวะในตอนกลางคืน (Nocturia)
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้้าตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuriaหรือ Choluria)
ถ้าพบ Urobilirubinในปัสสาวะแสดงว่าเซลล์ตับถูกท้าลาย
กรณีมีการอุดตันของท่อน้้าดีจากตับสู่ล้าไส้เล็ก น้้าดีจะไหลย้อนเข้าเซลล์ตับและขับถ่ายออกโดยเปลี่ยนสภาพเป็นเกลือชนิดที่สามารถละลายน้้าได้ขับออกทางปัสสาวะท้าให้ปัสสาวะมีสีเหลืองน้้าตาลเข้มของน้้าดี&มีความถ่วงจ้าเพาะสูง
ถ้าพบ Conjugated bilirubinในปัสสาวะ แสดงว่ามีการอุดตันของทางเดินน้้าดีจากการมี Hemolytic jaundice
ปัสสาวะมีสีด้าของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)มีการสลายตัวของเม็ดเลือดแดงท้าให้เกิด Oxyhemoglobinหรือ Methemoglobinในปัสสาวะ อาจเกิดจากการได้รับเลือดผิดกลุ่ม ติดเชื้อ ไฟไหม้ น้้าร้อนลวก เม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่าปกติ เช่น คนที่ขาดเอ็นไซม์ G6PD ท้าให้ปัสสาวะมีสีด้าคล้ายสีน้้าปลาหรือสีโค้ก
คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)พบคีโตนในน้้าปัสสาวะ โดยคีโตนเป็นผลจากการเผาผลาญไขมันให้เป็นพลังงาน แทนพลังงานที่ได้จากน้้าตาล พบในผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการรักษาไม่ดี ควบคุมระดับน้้าตาลไม่ได้ และพบในผู้ป่วยที่ขาดอาหารรุนแรง
ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)มีเซลล์หนอง เม็ดเลือดขาวในน้้าปัสสาวะบางครั้งอาจพบมีแบคทีเรียร่วมด้วย ปัสสาวะเป็นตะกอนสีขาวคล้ายน้้านม พบในผู้ป่วยที่มีการอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)ภาวะที่มีโปรตีนหรือแอลบูมินในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน โดยใช้แผ่นทดสอบเทียบสี (Urine dipstick for protein) ตรวจพบตั้งแต่ 1+ ขึ้นไป โดยที่ปกติในปัสสาวะจะไม่มีโปรตีนปนอยู่ แต่ถ้ามีโปรตีนในน้้าปัสสาวะแสดงถึงภาวะไตเป็นโรค ท้าให้การกรองของกรวยไตไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากกรวยไตอักเสบ (Glomerulonephritis)
นิ่วในปัสสาวะ (Calculi) ภาวะที่มีก้อนนิ่วปนออกมากับน้้าปัสสาวะ เนื่องจากมีการตกตะกอนของเกลือแร่ในร่างกาย
น้้าตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)มีน้้าตาลปนออกมาในน้้าปัสสาวะโดยคนปกติจะตรวจไม่พบน้้าตาลในปัสสาวะ เนื่องจากน้้าตาล ที่ Filtrate ผ่าน Glomerulus ทั้งหมดจะมีการ Reabsorb กลับที่ Proximal tubules แต่ถ้าน้้าตาลในกระแสเลือดสูงเกินกว่าRenal threshold (160-180 mg/dL) ที่ไตจะดูดกลับได้แล้วจะพบน้้าตาลปนออกมาในน้้าปัสสาวะ มักจะพบในผู้ป่วยเบาหวาน
ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria) มีไขมันออกมาในน้้าปัสสาวะเป็นสีขาวขุ่น แยกสีขาวขุ่นจากหนองโดยการใส่อีเธอร์ลงในปัสสาวะ ถ้าปัสสาวะเปลี่ยนเป็นใส แสดงว่าเป็นไขมัน ถ้ายังขุ่นเหมือนเดิม แสดงว่าอาจเป็นหนองหรือแบคทีเรีย
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงปนออกมาในน้้าปัสสาวะ ท้าให้ปัสสาวะเป็นสีแดง อาจเห็นชัดเป็นเลือดสดๆ หรือเห็นเมื่อดูจากกล้องจุลทรรศน์พบเม็ดเลือดแดงมากกว่า 3 ตัวต่อ 1 ช่อง(RBC>3cells/HPF)มีสาเหตุที่ไต ท่อไต กรวยไต กระเพาะปัสสาวะ ต่อมลูกหมาก และท่อปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะปกติ
ปัสสาวะประมาณ 4-6ครั้งต่อวัน และปัสสาวะกลางวันบ่อยกว่ากลางคืน
มักถ่ายปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้าหลังตื่นนอน ก่อนหรือหลังรับประทานอาหาร
ล้าปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
การถ่ายปัสสาวะจะเว้นช่วงห่างประมาณ 2–4 ชั่วโมง ในเวลากลางวัน และ 6-8 ชั่วโมง ในเวลากลางคืน
เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30วินาที และไม่มีอาการเจ็บปวด
จ้านวนปัสสาวะประมาณ 250-400 มิลลิลิตรต่อครั้ง หรือไม่ควรน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร ใน 1 ชั่วโมง(ปกติร่างกายจะผลิตน้้าปัสสาวะในอัตรา 0.5-1 ml./kg./hr.)
กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที ต้องสามารถกลั้นได้ และเมื่อจะปัสสาวะก็สามารถปัสสาวะได้ทันที
Residual urine ไม่ควรเกิน 50 มิลลิลิตร ในผู้ใหญ่ และไม่ควรเกิน 100 มิลลิลิตรในผู้สูงอายุ
ปริมาณปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ100-400มิลลิลิตร
ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
มีความเป็นกรดอ่อนๆpHประมาณ4.6-8.0
มีความถ่วงจ้าเพาะ(Specificgravity)ประมาณ1.015-1.025
สีเหลืองจางจนถึงสีเหลืองเข้มสีเหลืองฟางข้าวหรือสีเหลืองอ้าพัน
เมื่อตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์(Microscopicexamination)ไม่พบCasts,Bacteria,Albuminหรือน้้าตาลไม่พบเม็ดเลือดแดง
ปัสสาวะใหม่มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆถ้าตั้งทิ้งไว้นานๆจะได้กลิ่นแอมโมเนียที่แรง
ปริมาณปัสสาวะปกติในผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
ลักษณะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะล้าบาก (Dysuria)มีการเบ่งถ่ายปัสสาวะ ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ ต้องใช้เวลาและแรงในการเบ่งเพิ่มขึ้น บางครั้งปวดแสบปวดร้อนขณะถ่ายปัสสาวะ มักปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะไม่สุด อยากถ่ายปัสสาวะแบบทันทีทันใด อาจมีอาการปวดบริเวณหัวเหน่า และฝีเย็บ อาจมีเลือดสดออกมาในตอนท้ายหลังจากถ่ายสุด
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะล้าบาก (Dysuria)อาจมีสาเหตุจาก
การบาดเจ็บของท่อปัสสาวะ
ต่อมลูกหมากโต
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
อาการที่เกิดขึ้นชั่วคราวภายหลังจากการมีเพศสัมพันธ์
การอักเสบติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia)มากกว่า 2 ครั้งขึ้นไปถือเป็นความผิดปกติที่ต้องสังเกต มักพบในผู้สูงอายุชายที่มีต่อมลูกหมากโต ท่อปัสสาวะตีบแคบท้าให้ปัสสาวะไม่สุดและมีปัสสาวะตกค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ ท้าให้ปัสสาวะบ่อยทั้งในเวลากลางวันและเวลากลางคืน
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย (Pollakiuria) ถ่ายปัสสาวะบ่อยครั้งกว่าปกติ และมีจ้านวนปัสสาวะที่ถ่ายออกแต่ละครั้งลดน้อยลง กระเพาะปัสสาวะมีความจุลดลงจากก้อนเนื้องอก นิ่ว การหดตัวตลอดเวลาจากการอักเสบติดเชื้อ
ปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria หรือ Diuresis)ไตผลิตปัสสาวะออกมาจ้านวนมากกว่าปกติ (มากกว่า 2,500–3,000 มิลลิลิตรต่อวัน) อาจเป็นภาวะที่เกิดขึ้นชั่วคราวจากดื่มน้้ามาก ได้รับยาขับปัสสาวะ ดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน หรืออาจเป็นอาการเรื้อรังเนื่องจากโรค เช่น เบาหวาน เบาจืด และโรคต่อมไร้ท่ออื่นๆ ที่ท้าให้มีการผลิต Antidiuretic hormone (ADH) ไม่เพียงพอ
ปัสสาวะรดที่นอน (Enuresis)มีปัสสาวะไหลออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ ในเด็กที่มีอายุมากกว่า 5 ปีขึ้นไป แต่ถ้าเกิดกับเด็กอายุน้อยกว่านี้ถือว่าปกติ เพราะประสาทที่ควบคุมการขับถ่ายยังเจริญไม่เต็มที่
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria)มีปัสสาวะน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ใน 24 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง หรือ น้อยกว่า 0.5-1 มิลลิลิตร/น้้าหนักตัว 1 กก./ชั่วโมง โดยทั่วไปนึกถึงภาวะขาดน้้าหรือได้รับน้้าน้อย เช่น ท้องเดินไข้สูง เสียเลือดมาก
ปัสสาวะคั่ง (Urinary retention)น้้าปัสสาวะคั่งอยู่ในกระเพาะปัสสาวะเป็นจ้านวนมากกว่าปกติ ไม่สามารถจะถ่ายปัสสาวะออกมาได้ หรือภาวะที่ไม่มีการถ่ายปัสสาวะในระยะเวลา 8–10 ชั่วโมง กระเพาะปัสสาวะจะตึงแข็งเหนือ หัวเหน่าคล้าได้เป็นก้อน
ไม่มีปัสสาวะ (Anuria/Urinary suppression)มีปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า 50มิลลิลิตรต่อวัน หรือไม่มีการปัสสาวะเลย
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่/ กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (Urinaryincontinence)ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้ อาจมีอาการปัสสาวะกระปริดกระปรอย หรือกลั้นไม่ได้มีปัสสาวะไหลตลอดเวลา มี 5 ประเภท
ปัสสาวะเล็ด (Stress incontinence) การที่มีปัสสาวะไหลซึมออกมาโดยไม่ตั้งใจ ขณะที่มีความดันในช่องท้องสูงขึ้น เช่น ไอ จาม หัวเราะ ยกของ ออกก้าลังกาย หรือเปลี่ยนอิริยาบถจากท่านอนเป็นนั่ง นั่งเป็นยืน เกิดจากกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อนหรือฝ่อลีบในผู้สูงอายุ จากการขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนหรือในภาวะอ้วน (Obesity)
กลั้นปัสสาวะไม่ทัน หรือ ภาวะกระเพาะปัสสาวะไวเกิน (Urge incontinence/ Urgency/ Overactive bladder) ภาวะที่เมื่อรู้สึกปวดอยากถ่ายปัสสาวะก็มีปัสสาวะเล็ดหรือราดออกมาทันทีไม่สามารถควบคุมได้
การติดเชื้อ
โรคทางระบบประสาท
การขยายตัวที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
ปัสสาวะท้น (Overflow incontinence)มีปัสสาวะจ้านวนมากเกินกว่าที่กระเพาะปัสสาวะจะเก็บกักไว้ได้ จึงท้าให้ปัสสาวะส่วนเกินไหลออกมา โดยไม่มีความรู้สึกปวดปัสสาวะเลย เนื่องจากกระเพาะปัสสาวะบีบตัวน้อยลงหรือไม่บีบตัวเลย มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง ท่อปัสสาวะตีบ มีความผิดปกติของระบบประสาท หรือได้รับยา anticholinergic agent
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่โดยสิ้นเชิง(True Incontinence) ปัสสาวะจะไหลตลอดเวลา โดยไม่มีความรู้สึกปวดอยากถ่ายปัสสาวะ อาจมีสาเหตุจาก
ได้รับรังสีรักษาในมะเร็งปากมดลูก
การคลอดบุตรยากท้าให้เกิดรูรั่วระหว่างกระเพาะปัสสาวะและช่องคลอด (Vesicovaginalfistula)หูรูดสูญเสีย
ได้รับการผ่าตัดในอุ้งเชิงกราน
การหดรัดตัวจากการคาสายสวนปัสสาวะไว้นาน
การได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
การผ่าตัดต่อมลูกหมาก
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดจากภาวะหรือโรคอื่น ๆ (FunctionalIncontinence)จากการติดเชื้อ สาเหตุจากจิตใจ-อารมณ์ อาการเพ้อคลั่ง (Delirium)ท่อปัสสาวะและช่องคลอดฝ่อลีบ ผลของยาบางชนิด ภาวะที่ถูกจ้ากัดการเคลื่อนไหว (Restricted mobility)และอุจจาระอัดแน่น (Stool impaction)
การสวนปัสสาวะ
ชนิดของการสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization) เป็นการใส่สายสวนปัสสาวะผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เพื่อระบายน้ำปัสสาวะออกจากกระเพาะปัสสาวะเมื่อกระเพาะปัสสาวะว่างไม่มีน้ำปัสสาวะไหลออกมาแล้วจะถอดสายสวนปัสสาวะออก
ก า ร ส ว น ค า ส า ย ส ว น ป ั ส ส า ว ะ ( Indwelling catheterization or retained catheterization) เป็นการสอดใส่สายสวนปัสสาวะชนิด Foley catheter ผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะแล้วคาสายสวนสวนปัสสาวะไว้
อุปกรณ์
กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (Sterile syringe) ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน
Transfer forceps
น้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) และน้ำยาทำลายเชื้อ (Antiseptic solution) เช่นPovidone-iodine (บางโรงพยาบาลไม่ใช้)
ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด (Sterile urine bag) 1 ใบ
สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้ เช่น KY-jelly
โคมไฟ หรือไฟฉาย
ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ (Sterile catheterization set) ประกอบด้วย
ชามกลมใหญ่ 1 ใบ
ถ้วย 2 ใบ สำหรับใส่สำลี 6-8 ก้อน และผ้าก๊อส 1-2 ผืน
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1 ผืน
Forceps 1-2 อัน
ถุงมือปลอดเชื้อ (บางโรงพยาบาลอาจแยกออกจากชุดสวนปัสสาวะ)
พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด หม้อนอน ถุงมือสะอาด 1 คู่ ถุงกระดาษหรือถุงพลาสติกสำหรับทิ้งสำลีใช้แล้ว
สายสวนปัสสาวะ การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะควรพิจารณาวัตถุประสงค์ของการใช้งานและขนาดของสายสวนปัสสาวะ
สายสวนปัสสาวะ การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะควรพิจารณาวัตถุประสงค์ของการใช้งานและขนาดของสายสวนปัสสาวะสายสวนปัสสาวะ การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะควรพิจารณาวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
และขนาดของสายสวนปัสสาวะชนิด คือ แบบ 2 หางและแบบ 3 หาง
ขนาดของสายสวนปัสสาวะ
เด็กใช้ขนาด 8-10 Fr.
ผู้สูงอายุใช้ขนาด 22-24 Fr.
ผู้ชายใช้ขนาด 16-20 Fr.
ไม่ควรใช้ 0.9% NaClใส่ในบอลลูน เกลืออาจปิดกั้นช่องที่ใช้ใส่น้้า
ผู้หญิงใช้ขนาด 14-16 Fr.
วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
วิธีการสวนปัสสาวะ
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling หรือ Retention catheter)
ใส่ถุงมือด้วยวิธีปลอดเชื้อ
ตรวจสอบประสิทธิภาพของบอลลูน
ฉีกซองกระบอกฉีดยา
คลี่และวางผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก โดยให้บริเวณเจาะกลางอยู่ตรงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกพอดี
คีบสายสวนออกจากซอง
ใช้มือซ้ายแหวก Labiaจนเห็นรูเปิดของท่อปัสสาวะ
บีบ KY-jelly ลงในผ้าก๊อซ
คีบส้าลีชุบน้้าเกลือเช็ดบริเวณเปิดของท่อปัสสาวะ
เทน้้ายา
เพศชายให้ท้าความสะอาดรูเปิดท่อปัสสาวะและGlans penis
ใช้ Transfer forceps จัดวางเครื่องใช้เรียงไว้ตามลำดับการใช้อยู่ในบริเวณ
ผ้าห่อ Set และวางห่างจากขอบผ้าเข้าไปอย่างน้อยประมาณ 1 นิ้ว
หล่อลื่น KY-Jellyประมาณ 1-2 นิ้ว (เพศหญิง)6-7 นิ้ว (เพศชาย)
วางชุดสวนปัสสาวะลงบนเตียงระหว่างขาของผู้ป่วย และเปิดผ้าห่อออกด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ ถ้าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวและดิ้น ให้วางชุดสวนปัสสาวะไว้บนโต๊ะคร่อมเตียง (Over bed table)ี่สะอาดและวางใกล้เตียงผู้ป่วย
ยกภาชนะรองรับปัสสาวะวางบนผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางระหว่างขาผู้ป่วย
ท้าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาด
สอดสายสวนปัสสาวะเข้าไปในรูเปิดของท่อปัสสาวะลึก 2-3นิ้ว (เพศหญิง) หรือ 6-8 นิ้ว (เพศชาย)หรือจนกว่าน้้าปัสสาวะจะไหล
จัดท่า ปิดตา คลุมผ้าผู้ป่วย
ผู้ ห ญิ ง จั ด ท่ า Dorsal recumbent position
ผู้ชายจัดท่า Supine positionกรณีผู้ป่วยมีปัญหาเกี่ยวกับสะโพกและชันเข่าไม่ได้ ให้จัดท่า Sim’sหรือ Side-lying position
ปัสสาวะไหลออกมา ให้ดันสายสวนเข้าไปให้ลึกอีกประมาณ ½-1นิ้ว(เพศหญิง)หรือเกือบสุดสาย (เพศชาย)ถ้ามีแรงต้านขณะที่สายสวนผ่านเข้า Prostaticsphincter อย่าดันสายสวนเข้าไป จับสายสวนให้อยู่กับที่สักครู่ บอกผู้ป่วยให้หายใจเข้าออกลึกๆ ช้าๆ หมุนสายสวนเบาๆ
แขวนถุงรองรับปัสสาวะกับขอบเตียงให้อยู่ต่้ากว่ากระเพาะปัสสาวะ
ถ้ายังใส่ไม่ได้ให้หยุดท้า รายงานให้แพทย์ทราบ เพราะอาจมีการตีบตันจากต่อมลูกหมากโต
กั้นม่าน และจัดให้มีแสงสว่างเพียงพอ
ใช้มือข้างที่แหวก Labia/ จับ Penisมาจับสายสวน ส่วนอีกมือหยิบกระบอกฉีดยาที่บรรจุน้้ากลั่นอยู่ ดันน้้ากลั่นเข้าไปทางหาง Foleyที่มีแถบสีไม่เกิน 10 มิลลิลิตร แล้วลองดึงสายสวนเบาๆ พอตึงแล้วดันกลับเล็กน้อย
ล้างมือให้สะอาด เตรียมของใช้ ไปที่เตียงผู้ป่วย
สอดปลายสายของถุงรองรับปัสสาวะลอดบริเวณเจาะกลาง
บอกความจ้าเป็น วิธีปฏิบัติตัวของผู้ป่วย และประโยชน์ของการสวนปัสสาวะ
เช็ดบริเวณ Vulvaให้แห้งด้วยส้าลีที่เหลือ
เก็บ Setสวนปัสสาวะออกจากเตียง จัดท่าผู้ป่วยให้สุขสบาย ถ้าผ้าขวางเตียงหรือผ้าปูที่นอนเปียกให้เปลี่ยน
เก็บของใช้ไปท้าความสะอาด และบันทึกรายงานการสวนคาสายสวนปัสสาวะ
ถอดถุงมือ ติดพลาสเตอร์ยึดสายสวนกับต้นขาของผู้ป่วย และใช้เข็มกลัดติดสายของถุงรองรับปัสสาวะกับที่นอน
การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้ (Removing Indwelling or Retention catheters)
เช็ดบริเวณ Perineumให้แห้
สังเกตลักษณะ จ้านวนปัสสาวะในถุงก่อนเอาไปเททิ้ง
ให้หายใจเข้าออกลึก ๆ เพื่อให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย ขณะที่ค่อยๆ ดึง สายสวนออก
บันทึก จ้านวน สี ลักษณะของปัสสาวะลงในบันทึกทางการพยาบาล
ใช้ Syringeดูดน้้ากลั่นออกจนหมด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้้ามากๆ สังเกตความผิดปกติของผู้ป่วย
ท้าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และบริเวณ Urethra meatusให้สะอาด
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
การเปิดก๊อกน้้าให้ได้เห็น หรือได้ยินเสียงน้้าไหลจะช่วยในด้านองค์ประกอบทางอารมณ์
การใช้ความร้อนช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ เช่น การใช้น้้าอุ่นราดบริเวณฝีเย็บ การวางกระเป๋าน้้าร้อนที่ท้องน้อย
ช่วยให้ผู้ป่วยได้ถ่ายปัสสาวะในท่าที่สะดวกเป็นธรรมชาติ
ให้เวลาในการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่เร่งรัดผู้ป่วยเกินไป
จัดให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวในที่มิดชิดขณะถ่ายปัสสาวะ สิ่งแวดล้อมในห้องน้้าสะอาดและปลอดภัย
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ ให้ใช้มือนวดเบาๆ ที่ท้องน้อยเหนือกระดูกหัวเหน่า และบอกให้ผู้ป่วยกลั้นหายใจขณะที่กดปลายนิ้วลงไปที่กระเพาะปัสสาวะ ในระหว่างที่นวดให้ผู้ป่วยขมิบกล้ามเนื้อฝีเย็บสลับกับการนวดด้วย
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ ใช้วิธีกระตุ้นให้ผู้ป่วยไปปัสสาวะ ชมเชย และให้ก้าลังใจ ความส้าเร็จขึ้นอยู่กับความเต็มใจและความขยันของผู้ป่วย
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อท้างานอย่างเต็มที่
การท้าKegelexercise อย่างมีประสิทธิภาพสามารถลดอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ได้มากถึง 60 % ของผู้ที่ร่วมมือในการปฏิบัติอย่างสม่้าเสมอ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้้าได้ ใช้หม้อนอน (Bedpan)ในกรณีผู้ป่วยหญิง หรือ กระบอกปัสสาวะ (Urinal)การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้้าได้ ใช้หม้อนอน (Bedpan)ในกรณีผู้ป่วยหญิง หรือ กระบอกปัสสาวะ (Urinal)
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
อาบน้้าด้วยฝักบัวแทนอาบในอ่างอาบน้้า หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ที่แรง
ใส่ชุดชั้นในที่ท้าด้วยผ้าฝ้ายดีกว่าท้าด้วยไนล่อน
ดื่มน้้า 2 แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ และปัสสาวะทิ้งทันทีหลังจากมีเพศสัมพันธ์
หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงที่แน่นหรือคับเกินไป
ฝึกถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง
เพิ่มความเป็นกรดของปัสสาวะ โดยการรับประทานวิตามินซี และดื่มน้้าผลไม้ที่เป็นกรด เพื่อช่วยลดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะ และควรลดอาหารรสเค็ม เนื่องจากโซเดียมท้าให้ปัสสาวะเป็นด่าง
ดื่มน้้าอย่างน้อยวันละ 8 -10 แก้ว
ใช้ Estrogen creamตามแผนการรักษาของแพทย์ ส้าหรับผู้หญิงวัยหมดประจ้าเดือนที่มีแนวโน้มจะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะได้ง่าย
ส่งเสริมให้ได้รับน้้าอย่างเพียงพอ
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ หรือมีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ จะต้องได้รับน้้าเพิ่มมากขึ้นประมาณวันละ 2,000-3,000 มิลลิลิตร เพื่อให้มีปัสสาวะจ้านวนมากพอที่จะชะล้างเชื้อโรคให้ออกจากระบบทางเดินปัสสาวะ
กรณีผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจวายหรือไตวาย จะต้องจ้ากัดน้้าให้น้อยลง เพื่อป้องกันภาวะน้้าเกินและภาวะบวม
ผู้ใหญ่ควรได้รับน้้าสะอาด อย่างน้อยวันละ 6-8แก้วหรือประมาณ 1,500-2,000มิลลิลิตร
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื อ Sterile swab น ้ายาฆ่าเชื อ
ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน ้ายาฆ่าเชื อ
ใช้ Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้นานประมาณ 15–30 นาที เพื่อให้มีปัสสาวะใหม่เก็บอยู่ก่อน
ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงต้าแหน่งที่ท้าความสะอาดฆ่าเชื อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกมาประมาณ 10 มล. ส่งตรวจเพาะเชื้อทันที
วิธีการเก็บปัสสาวะ 24ชั่วโมง
เริ่มเก็บปัสสาวะเวลา 08.00น. ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะทิ้งก่อน
จนครบก้าหนด 24ชั่วโมง แล้วถ่ายปัสสาวะเก็บเป็นครั้งสุดท้าย
รวบรวมไว้จนครบ 24ชั่วโมงแล้วส่งตรวจ
แนะน้าให้งดโปรตีน คาเฟอีน ก่อนการเก็บปัสสาวะประมาณ 6 ชั่วโมง และให้ผู้ป่วยดื่มน้้ามากๆ ก่อนและระหว่างการเก็บ (ถ้าไม่มีข้อห้าม)
วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
ให้ผู้ป่วยท้าความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน ้าสะอาด ล้างมือให้สะอาด และเช็ดให้แห้ง ให้ปัสสาวะทิ งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมาประมาณครึ่งภาชนะ หรือประมาณ 30-50 ml.ห้ามสัมผัสด้านในของภาชนะ แล้วปัสสาวะช่วงสุดท้ายทิ งไป
หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ (Condom catheter)
ถุงยางอนามัยลดอัตราเสี่ยงการติดเชื้อเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ และไม่ท้าให้เกิดอันตรายต่อท่อปัสสาวะ
ต้องเปลี่ยนถุงยางอนามัยอย่างน้อย 24 ชั่วโมง และต้องท้าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้ง
ผู้ที่ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
ถ้าใส่นาน ๆ มีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาต จะบวม แดง ถลอก หรือมีสีเปลี่ยนไปเพราะเลือดไหลเวียนไม่สะดวกจากการที่ถุงยางรัดเกินไป ให้งดใส่ชั่วคราว และรายงานแพทย์
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง เนื่องจากเปียกปัสสาวะบ่อย ๆ
ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
คอยดูแลให้ปัสสาวะระบายลงสู่ถุงรองรับปัสสาวะได้สะดวก โดยต้องคอยระวังไม่ให้ถุงยางบิดเป็นเกลียว หรือท่อสายยางของถุงรองรับปัสสาวะหัก พับงอ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล
ส่งเสริมให้ปัสสาวะเป็นกรด เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและป้องกันการเกิดนิ่ว
การเปลี่ยนสายสวนปัสสาวะควรทำเมื่อจำเป็น ระยะเวลาในการเปลี่ยนไม่เจาะจงขึ้นอยู่กับผู้ป่วยแต่ละคนอาจอยู่ระหว่าง 5 วัน ถึง 2 สัปดาห์
อย่าปล่อยให้ปัสสาวะเต็มถุงรองรับ ควรเททิ้งอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง ด้วยวิธีที่ถูกต้องคือ ก่อนและหลังเทปัสสาวะออกจากถุงควรใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% เช็ดบริเวณปลายท่อเปิดของถุงรองรับปัสสาวะ
ดูแลให้ถุงรองรับปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าระดับกระเพาะปัสสาวะเสมอ จะทำให้ปัสสาวะไหลสะดวกตามหลังแรงโน้มถ่วงของโลก และป้องกันไม่ใช้เชื้อโรคจากถุงปัสสาวะย้อนขึ้นไปสู่กระเพาะปัสสาวะ
รักษาระบบการระบายปัสสาวะให้เป็นระบบปิดอยู่เสมอ ไม่ปลดสายสวนและ
ท่อสายยางของถุงรองรับปัสสาวะออกจากกัน เพื่อเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
ตรวจดูสายสวนและท่อระบายของถุงรองรับปัสสาวะเป็นระยะไม่ให้หักพับงอ หรือถูกทับ เพราะจะปิดกั้นการไหลของปัสสาวะ
ใช้สบู่อ่อนและน้ำหรือน้ำยาทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ในการทำความสะอาดบริเวณฝีเย็บ หลีกเลี่ยงการใช้แป้งหรือโลชั่น เพราะอาจไปจับกับเยื่อเมือกทำให้เป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกขึ้นเคลื่อนไหวและออกกำลังกาย จะทำให้ปัสสาวะไหลสะดวกและป้องกันการอุดตันของสายสวนปัสสาวะ
ทำความสะอาดบริเวณฝีเย็บให้สะอาด วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น และหลังถ่ายอุจจาระทุกครั้ง โดยเฉพาะรอบ ๆ รูเปิดของท่อปัสสาวะ ระวังอย่าดึงสายสวนขณะทำความสะอาดเพราะจะทำให้ท่อปัสสาวะและผนังกระเพาะปัสสาวะได้รับบาดเจ็บ
ถ้าเป็นไปได้ให้แยกห้องผู้ป่วยที่ติดเชื้อจากการสวนคาสายสวนปัสสาวะออกจากผู้ป่วยที่ไม่ติดเชื้อจากการสวนคาสายสวนหรือไม่ควรอยู่เตียงติดกัน
Force oral fluid มากกว่า 2,000-3,000 มิลลิลิตรต่อวัน ถ้าไม่มีข้อห้าม
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก Aseptic technique
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินสัญญาณชีพ
รายงานแพทย์เมื่อพบความผิดปกต
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะทั้งก่อนและหลังให้การพยาบาล ได้แก่ ปัสสาวะสีขาว ขุ่น มีตะกอน
การประเมิน
ตรวจร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ การเคาะบริเวณไต เพื่อหาตำแหน่งที่ปวด การคลำและเคาะกระเพาะปัสสาวะ ตรวจสีลักษณะ และความตึงตัวของผิวหนัง และภาวะบวม
วิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติแบบแผนและลักษณะการขับถ่ายปัสสาวะปกติ จำนวนครั้งใน 24 ชั่วโมงลักษณะและสีของปัสสาวะ ปริมาณน้ำดื่มต่อวัน ยาที่รับประทานประจำ โรคประจำตัว เบาหวาน ความดันความเครียด กิจกรรมที่ทำประจำวัน เช่น การออกกำลังกาย ลักษณะอาหารที่รับประทานประจำความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน เป็นต้น
ประเมินผลการพยาบาล
ภายหลังให้การพยาบาลควรมีการประเมินทุกครั้งตามเกณฑ์
การประเมินผล เช่น ปัสสาวะสีเหลืองใสไม่มีตะกอน สัญญาณชีพปกติ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบเชื้อ เป็นต้น