Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
Developmental growth
เด็กวัยก่อนเรียน
เริ่มควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้เอง
เด็กวัยเรียน
ระบบขับถ่ายปัสสาวะเจริญเต็มที่ ปัสสาวะ 6-8 ครั้งต่อวัน
เด็กทารก
กระเพาะปัสสาวะมีความจุน้อย ปัสสาวะบ่อยครั้ง
ผู้สูงอายุ
ปัสสาวะเพียง 150-200 มิลลิลิตร กระเพาะปัสสาวะก็จะบีบตัวท้าให้รู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะ
ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
ความเจ็บปวดมีผลยับยั้งการถ่ายปัสสาวะ
ความเครียดและความวิตกกังวลกระตุ้นให้อยากถ่ายปัสสาวะบ่อย
น้้าและอาหาร (Food and fluid)
อาหารที่ร่างกายได้รับ (Food intake)
จ้านวนน้้าที่ร่างกายสูญเสีย (Loss of body fluid)
ยา (Medication)
ยาที่ขับออกทางระบบปัสสาวะจะส่งผลให้สีของน้้าปัสสาวะเปลี่ยนแปลง
Activity and Muscle tone
การออกก้าลังกายสม่้าเสมอ
มีการผลิตปัสสาวะมากขึ้นและถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะปกติ
เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30วินาที และไม่มีอาการเจ็บปวด
ปัสสาวะประมาณ 4-6ครั้งต่อวัน และปัสสาวะกลางวันบ่อยกว่ากลางคืน
ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
ปัสสาวะใหม่มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆถ้าตั้งทิ้งไว้นานๆจะได้กลิ่นแอมโมเนียที่แรง
ใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติ
ไม่มีปัสสาวะ
ปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria หรือ Diuresis)
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria)
ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia)
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะล้าบาก (Dysuria)
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย (Pollakiuria)
ปัสสาวะรดที่นอน (Enuresis)
ปัสสาวะคั่ง (Urinary retention)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
True Incontinence
Urge incontinence
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะมีสีดําของฮีโมโกลบิน(Hemoglobinuria)
ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria
น้ําตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ําตาลของบิลิรูบิน
ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)
นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมให้ได้รับน้ําอย่างเพียงพอ
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทํางานอย่างเต็มที่
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะกรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้ําได้
นําหม้อนอน (Bedpan)ในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นผู้หญิง หรือ กระบอกปัสสาวะ (Urinal) ในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นผู้ชายมาให้ผู้ป่วยที่เตียง
การสวนปัสสาวะ
เป็นการใส่สายสวนปัสสาวะ (Urinary catheter)ที่ปลอดเชื้อผ่านท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะเพื่อระบายปัสสาวะออกมา
การพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ (Condom catheter)
ารใส่ถุงยางอนามัย เป็นการระบายปัสสาวะภายนอก ในผู้ชายให้ปัสสาวะไหลไปตามท่อลงสู่ภาชนะหรือถุงรองรับปัสสาวะ การใส่ถุงยางอนามัยจะพิจารณาผู้ที่มีปัญหา ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
มีประโยชน์ในการช่วยวินิจฉัยโรคเนื่องจากไตทําหน้าที่ขับของเสียออกจากเลือด ดังนั้นการตรวจปัสสาวะสามารถบอกหน้าที่ของไต และการทํางานของระบบอื่น