Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะปกติ
ปริมาณปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ 100-400 มิลลิลิตรอยากถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะประมาณ 4-6 ครั้งต่อวันกลางวันบ่อยกว่ากลางคืน
ล้าปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
มักถ่ายปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้าหลังตื่นนอน ก่อนหรือหลังรับประทาน อาหาร
เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที และไม่มี อาการเจ็บปวด
การถ่ายปัสสาวะจะเว้นช่วงห่างประมาณ 2–4 ชั่วโมง ในเวลากลางวัน และ 6-8 ชั่วโมง ในเวลากลางคืน
กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที ต้องสามารถกลั้นได้และเมื่อจะปัสสาวะก็สามารถปัสสาวะได้ทันที
จ้านวนปัสสาวะประมาณ 250-400 มิลลิลิตรต่อครั้ง หรือไม่ควรน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร ใน 1 ชั่วโมง
Residual urine ไม่ควรเกิน 50 มิลลิลิตร ในผู้ใหญ่
ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
กรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
(Specific gravity) ประมาณ 1.015-1.025
สีเหลืองอำพัน
ไม่พบ Casts, Bacteria, Albumin หรือน้้าตาล ไม่พบเม็ดเลือดแดง
วันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
ปัสสาวะใหม่มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อน ๆ
ใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
ไม่มีปัสสาวะ (Anuria/ Urinary suppression)
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria) มีปัสสาวะน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ใน 24 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
ปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria หรือ Diuresis) ไตผลิตปัสสาวะออกมา จ้านวนมากกว่าปกติ (มากกว่า 2,500–3,000 มิลลิลิตรต่อวัน)
ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia) มากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป มักพบในผู้สูงอายุชายที่มีต่อมลูกหมากโต
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะล้าบาก (Dysuria)
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย (Pollakiuria)
ปัสสาวะรดที่นอน (Enuresis) มีปัสสาวะไหลออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ ในเด็กที่ มีอายุมากกว่า 5 ปีขึ้นไป
ปัสสาวะคั่ง (Urinary retention)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่/ กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ปัสสาวะเล็ด (Stress incontinence) คือการที่มีปัสสาวะไหลซึมออกมาโดยไม่ตั้งใจ ขณะที่มีความดันในช่องท้องสูงขึ้น เช่น ไอ จาม หัวเราะ ยกของ ออกกำลังกาย
ปัสสาวะท้น (Overflow incontinence) เป็นภาวะที่มีปัสสาวะจำนวนมากเกินกว่า ที่กระเพาะปัสสาวะจะเก็บกักไว้ได้
กลั้นปัสสาวะไม่ทัน หรือ ภาวะกระเพาะปัสสาวะไวเกิน เป็นภาวะที่เมื่อรู้สึกปวดอยากถ่ายปัสสาวะก็มีปัสสาวะเล็ดหรือราด ออกมาทันทีไม่สามารถควบคุมได้
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดจากภาวะหรือโรคอื่น ๆ (Functional Incontinence) เช่น จากการติดเชื้อ สาเหตุจากจิตใจ-อารมณ์ อาการเพ้อคลั่ง (Delirium)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่โดยสิ้นเชิง (True Incontinence) ปัสสาวะจะไหลตลอดเวลา โดยไม่มีความรู้สึกปวดอยากถ่ายปัสสาวะ
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะที่ปกติประกอบด้วย น้้า 96% ยูเรีย 2% และสารอื่น ๆ 2%
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria) ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงปนออกมาใน น้้าปัสสาวะ ท้าให้ปัสสาวะเป็นสีแดง
น้้าตาลในปัสสาวะ (Glycosuria) มีน้้าตาลปนออกมาในน้้าปัสสาวะโดย คนปกติจะตรวจไม่พบน้้าตาลในปัสสาวะ
โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria) ภาวะที่มี โปรตีนหรือแอลบูมิน ในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน
คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria) พบคีโตนในน้้าปัสสาวะ โดยคีโตนเป็นผล จากการเผาผลาญไขมันให้เป็นพลังงาน แทนพลังงานที่ได้จากน้้าตาล
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้้าตาลของบิลิรูบิน
ถ้าพบ Conjugated bilirubin แสดงว่ามีการอุดตันของ ทางเดินน้้าดีจากการมี Hemolytic jaundice
ถ้าพบ Urobilirubin เซลล์ตับถูกทำลาย
การอุดตันของท่อน้้าดีจากตับสู่ล้าไส้เล็กะท้าให้ปัสสาวะมีสีเหลืองน้้าตาลเข้มของน้้าดี&มีความถ่วงจ้าเพาะสูง
ปัสสาวะมีสีด้าของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria) มีการสลายตัว ของเม็ดเลือดแดงท้าให้เกิด Oxyhemoglobin หรือ Methemoglobin ในปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria) มีเซลล์หนอง เม็ดเลือดขาวในน้้าปัสสาวะ ปัสสาวะเป็นตะกอนสีขาวคล้ายน้้านม
นิ่วในปัสสาวะ (Calculi) ภาวะที่มีก้อนนิ่วปนออกมากับน้้าปัสสาวะ เนื่องจากมีการตกตะกอนของเกลือแร่ในร่างกาย
ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria) มีไขมันออกมาในน้้าปัสสาวะเป็นสีขาว ขุ่น
หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ (Condom catheter)
วัตถุประสงค์
เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง
ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
ผู้ที่ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
ถุงยางอนามัยลดอัตราเสี่ยงการติดเชื้อเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ และไม่ท้าให้เกิดอันตรายต่อท่อปัสสาวะ
ต้องเปลี่ยนถุงยางอนามัยอย่างน้อย 24 ชั่วโมง และต้องท้าความสะอาด อวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้ง
ถ้าใส่นาน ๆ มีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาต จะบวม แดง ถลอก หรือมีสี เปลี่ยนไป
คอยดูแลให้ปัสสาวะระบายลงสู่ถุงรองรับปัสสาวะได้สะดวก โดยต้องคอยระวัง ไม่ให้ถุงยางบิดเป็นเกลียว หรือท่อสายยางของถุงรองรับปัสสาวะหัก พับงอ
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมาประมาณ ครึ่งภาชนะ หรือประมาณ 30-50 ml.
วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
ใช้ Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะนานประมาณ 15–30 นาท
เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื่อ
ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด
ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงต้าแหน่งที่ท้าความ สะอาดฆ่าเชื อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกมาประมาณ 10 มล
วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เริ่มเก็บปัสสาวะเวลา 08.00 น. ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะทิ้งก่อน
จนครบก้าหนด 24 ชั่วโมง แล้วถ่ายปัสสาวะเก็บเป็นครั้งสุดท้าย
รวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงแล้วส่งตรวจ
แนะน้าให้งดโปรตีน คาเฟอีน ก่อนการเก็บปัสสาวะประมาณ 6 ชั่วโมง และให้ผู้ป่วยดื่มน้้ามากๆ ก่อนและระหว่างการเก็บ (ถ้าไม่มีข้อห้าม)
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมให้ได้รับน้้าอย่างเพียงพอ
ผู้ใหญ่ควรได้รับน้้าสะอาด อย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว หรือประมาณ 1,500-2,000 มิลลิลิตร
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ หรือมีนิ่วใน ทางเดินปัสสาวะ จะต้องได้รับน้้าเพิ่มมากขึ้นประมาณวันละ 2,0003,000 มิลลิลิตร
กรณีผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจวายหรือไตวาย จะต้องจ้ากัดน้้าให้น้อยลง เพื่อป้องกันภาวะน้้าเกินและภาวะบวม
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ดื่มน้้าอย่างน้อยวันละ 8 - 10 แก้ว
ฝึกถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง
ดื่มน้้า 2 แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์
อาบน้้าด้วยฝักบัวแทนอาบในอ่างอาบน้้า หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ที่แรง
ใส่ชุดชั้นในที่ท้าด้วยผ้าฝ้ายดีกว่าท้าด้วยไนล่อน
หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงที่แน่นหรือคับเกินไป
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
การทำ Kegel exercise
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
จัดให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวในที่มิดชิดขณะถ่ายปัสสาวะ
ช่วยให้ผู้ป่วยได้ถ่ายปัสสาวะในท่าที่สะดวกเป็นธรรมชาติ
การเปิดก๊อกน้้าให้ได้เห็น หรือได้ยินเสียงน้้าไหลจะช่วยในด้าน องค์ประกอบทางอารมณ์
การใช้ความร้อนช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
ให้เวลาในการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่เร่งรัดผู้ป่วยเกินไป
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
ใช้วิธีกระตุ้นให้ผู้ป่วยไปปัสสาวะ ชมเชย และให้ก้าลังใจ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้้าได้
ใช้ หม้อนอน (Bedpan) ในกรณีผู้ป่วยหญิง หรือ กระบอกปัสสาวะ (Urinal) ในกรณีผู้ป่วยชายมาให้ผู้ป่วยที่เตียง
การสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
ระบายเอาน้้าปัสสาวะออก
ช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ตรวจสอบจ้านวนน้้าปัสสาวะ
ส่งตรวจเพาะเชื้อ
สวนล้างกระเพาะปัสสาวะ
ศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
ตรวจสอบจ้านวนน้้าปัสสาวะ
ชนิดของการสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
การใส่สายสวนปัสสาวะผ่านทางท่อปัสสาวะ เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เพื่อ ระบายน้้าปัสสาวะออกจากกระเพาะปัสสาวะ
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ
เป็นการสอดใส่สายสวนปัสสาวะชนิด Foley catheter ผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะแล้วคาสายสวน ปัสสาวะไว้
อุปกรณ์
ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด หม้อนอน ถุงมือสะอาด 1 คู่ ถุงกระดาษหรือ ถุงพลาสติกสำหรับทิ้งสำลีใช้แล้ว
ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ (Sterile catheterization set)
สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้
น้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) และน้ำยาทำลายเชื้อ (Antiseptic solution)
กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (Sterile syringe) ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน
Transfer forceps
ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด (Sterile urine bag) 1 ใบ
โคมไฟ หรือไฟฉาย
พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
สายสวนปัสสาวะ
Straight catheter ใช้สวนเป็นครั้งคราว
Foley catheter ใช้สวนคาสายสวนปัสสาวะ มีบอลลูนอยู่ส่วนปลายสาย ช่วย ให้สายสวนปัสสาวะไม่เลื่อนหลุดออกมา สายสวนปัสสาวะที่ใช้สวนคาไว้มี 2 ชนิด คือ แบบ 2 หาง และแบบ 3 หาง
วิธีการสวนปัสสาวะ
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ
บอกผู้ป่วยอธิบายให้เข้าใจถึงความจำเป็นของการสวนปัสสาวะ
ล้างมือให้สะอาด
กั้นม่าน และจัดให้มีแสงสว่างเพียงพอ
แขวนถุงรองรับปัสสาวะกับขอบเตียงให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
จัดท่า ปิดตา คลุมผ้าผู้ป่วย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาด
วางชุดสวนปัสสาวะลงบนเตียงระหว่างขาของผู้ป่วย
ใช้ Transfer forceps จัดวางเครื่องใช้เรียงไว้ตามลำดับการใช้
เทน้ำยาลงในถ้วย
ฉีกซองใส่สายสวนปัสสาวะ
ฉีกซองกระบอกฉีดยาลงในชุดสวนปัสสาวะด้วยวิธีปลอดเชื้อ
เปิดซองถุงมือและใส่ถุงมือด้วยวิธีปลอดเชื้อ
ตรวจสอบประสิทธิภาพของบอลลูน
คลี่และวางผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ใช้มือซ้ายแหวก Labia ให้กว้างจนเห็นรูเปิดของท่อปัสสาวะ
ใช้มือข้างที่ถนัดหยิบสายสวนปัสสาวะหล่อลื่น KY-Jelly ประมาณ 1-2 นิ้ว(เพศหญิง) หรือ 6-7 นิ้ว (เพศชาย)
ยกภาชนะรองรับปัสสาวะวางบนผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางระหว่างขาผู้ป่วย
มีแรงต้านขณะที่สายสวนผ่านเข้า Prostatic sphincter อย่าดันสายสวนเข้าไป
ใช้ Forceps ที่เหลือหรือมือข้างที่ถนัดจับสายสวนปัสสาวะให้มั่นคง
ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดที่แหวก Labia (ในเพศหญิง) หรือ จับ Penis (ในเพศชาย)
ค่อยๆ สอดสายสวนปัสสาวะเข้าไปในรูเปิดของท่อปัสสาวะลึก 2-3 นิ้ว (เพศหญิง) หรือ 6-8 นิ้ว (เพศชาย) หรือจนกว่าน้ำปัสสาวะจะไหล
สอดปลายสายของถุงรองรับปัสสาวะลอดบริเวณเจาะกลางออกมา
เมื่อใส่สายสวนเข้าไป 2-3 นิ้ว (เพศหญิง) หรือ 6-8 นิ้ว (เพศชาย) จะเห็นปัสสาวะ ไหลออกมาจากนั้นให้ดันสายสวนเข้าไปให้ลึกอีกประมาณ ½-1 นิ้ว (เพศหญิง) หรือเกือบสุดสาย(เพศชาย)
เช็ดบริเวณ Vulva ให้แห้งด้วยสำลีที่เหลือ
ถอดถุงมือ
เก็บ Set สวนปัสสาวะออกจากเตียง จัดท่าผู้ป่วยให้สุขสบาย ถ้าผ้าขวางเตียงหรือ ผ้าปูที่นอนเปียกให้เปลี่ยน
เก็บของใช้ไปทำความสะอาด
การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
เตรียมเครื่องใช้
บอกผู้ป่วย
ต่อ Syringe เข้ากับหางของสายสวนปัสสาวะที่ใช้สำหรับใส่น้ำกลั่นแล้วดูดน้ำกลั่นออกจนหมด
บอกผู้ป่วยให้หายใจเข้าออกลึกๆ เพื่อให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย
ใช้กระดาษชำระเช็ดบริเวณ Perineum ให้แห้ง
สังเกตลักษณะ จำนวนปัสสาวะในถุงก่อนเอาไปเททิ้งสังเกตลักษณะ แล้วบันทึกทางการพยสบาล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ สังเกตความผิดปกติของผู้ป่วย
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
อายุ/ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ
เด็กทารก
มีความจุน้อย ปัสสาวะบ่อยครั้ง
เด็กวัยก่อนเรียน
เริ่มควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้เอง
เด็กวัยเรียน
ปัสสาวะรดที่นอน
ผู้สูงอายุ
ปัสสาวะบ่อยครั้ง ขึ้น และมักจะตื่นขึ้นมาปัสสาวะในตอนกลางคืน (Nocturia)
น้้าและอาหาร
จ้านวนน้้าที่ร่างกายได้รับ
ได้รับน้้ามากการขับถ่ายและปริมาณปัสสาวะก็จะมาก ลักษณะ ของปัสสาวะก็จะเจือจาง
จ้านวนน้้าที่ร่างกายสูญเสีย
การสูญเสียเหงื่อ มีไข้สูง เสียเลือดมาก อาเจียน ท้องเสีย ก็มีผลต่อลักษณะ จ้านวนครั้ง และปริมาณปัสสาวะ
อาหารที่ร่างกายได้รับ
อาหารที่มีความเค็มมาก (มีปริมาณโซเดียมสูง) ปัสสาวะจะออกน้อยลง
ยา (Medication)
ยาที่ขับออกทางระบบปัสสาวะจะส่งผลให้สีของน้้าปัสสาวะ เปลี่ยนแปลง
ด้านจิตสังคม
ความเครียดและความวิตกกังวลกระตุ้นให้อยากถ่ายปัสสาวะบ่อย
ความเจ็บปวดมีผลยับยั้งการถ่ายปัสสาวะ
สังคมและวัฒนธรรม
การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัวมีอิทธิพลต่อนิสัยการขับถ่ายของบุคคล
ลักษณะท่าทาง
ผู้ชายจะใช้ท่ายืน ผู้หญิงจะใช้ท่านั่ง
กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การออกก้าลังกายสม่้าเสมอ มีการผลิต ปัสสาวะมากขึ้นและถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น
ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้เป็นเวลานาน
สตรีในภาวะหมดประจ้าเดือน
ผู้ที่นอนอยู่บนเตียงนาน ๆ ร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว
พยาธิสภาพ
โรคหลายชนิด
ในสตรีตั้งครรภ์
การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ
ความเครียดและความวิตกกังวลในกระบวนการรักษา
การฉีดยาชาที่ไขสันหลัง
การตรวจวินิจฉัยในระบบทางเดินปัสสาวะ