Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการ ขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการ
ขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการ
ขับถ่ายปัสสาวะ
ยา (Medication)
ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
น้ำและอาหาร (Food and fluid)
สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factor)
อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ (Developmental growth)
พยาธิสภาพ (Pathologic conditions) เช่น นิ่ว ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะหัวใจล้มเหลว
กระบวนการ
พยาบาล
การวินิจฉัยทาง
การพยาบาล
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การวางแผนการพยาบาล
และการปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
ได้แก่ ปัสสาวะสีขาว ขุ่น มีตะกอน
ใช้สบู่อ่อนและน้ำหรือน้ำยาทำความ
สะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การประเมิน
ตรวจร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ การเคาะบริเวณไต
วิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติแบบแผนและลักษณะการ
ขับถ่ายปัสสาวะปกติ จำนวนครั้งใน 24 ชั่วโมง
ประเมินผล
การพยาบาล
การประเมินผล เช่น ปัสสาวะสีเหลืองใสไม่มีตะกอน
สัญญาณชีพปกติ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบเชื้อ
การสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์ของ
การสวนปัสสาวะ
เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ
หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
ชนิดของการ
สวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
(Intermittent catheterization)
การสวนตาสายสวนปัสสาวะ
( Indwelling catheterization or retained catheterization)
หลักการส่งเสริมสุขภาพ
ในระบบทางเดินปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วย
ในการขับถ่ายปัสสาวะ
กรณีปัสสาวะไม่ออก
การเปิดก๊อกน้ำให้ได้เห็น หรือได้ยินเสียง
น้ำไหลจะช่วยในด้านองค์ประกอบทางอารมณ์
การใช้ความร้อนช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
การวางกระเป๋าน้ำร้อนที่ท้องน้อย
ช่วยกดหน้าท้องเบาๆ เหนือบริเวณกระเพาะ
ปัสสาวะจะช่วยให้ปัสสาวะสะดวก
เสริมสร้างนิสัยของ
การถ่ายปัสสาวะ
ใช้วิธีกระตุ้นให้ผู้ป่วยไปปัสสาวะ ชมเชย และให้กำลังใจ
ความสำเร็จขึ้นอยู่กับความเต็มใจและความขยันของผู้ป่วย
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อ
ทำงานอย่างเต็มที่
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ ปัสสาวะไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงต่อครั้ง
การกระตุ้นให้บริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ
จะช่วยป้องกันกล้ามเนื้อหย่อนสมรรถภาพได้
สอนให้นวด
กระเพาะปัสสาวะ
วิธีการนวดกระเพาะปัสสาวะ ให้
ใช้มือนวดเบาๆ
ที่ท้องน้อยเหนือกระดูกหัวเหน่า
ส่งเสริมให้ได้รับ
น้ำอย่างเพียงพอ
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ หรือมีนิ่วในทางเดิน
ปัสสาวะ จะต้องได้รับน้ำเพิ่มมากขึ้นประมาณวันละ 2,000-3,000 มิลลิลิตร
ป้องกันการติดเชื้อใน
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ฝึกถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง
ดื่มน้ำ อย่างน้อยวันละ 8 แก้ว (แก้วละ 240 มิลลิลิตร)
เพื่อชะล้างแบคทีเรียออกจากระบบทางเดินปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงที่แน่นหรือคับเกินไป
แบบแผนการ
ขับถ่ายปัสสาวะ
และการขับถ่าย
ปัสสาวะที่ผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่าย
ปัสสาวะปกติ
ตลอดการถ่ายปัสสาวะจะไม่มีอาการเจ็บปวด
ปัสสาวะประมาณ 4-6 ครั้งต่อวัน
เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที
ปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ 100-400
มักถ่ายปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้าหลังตื่นนอน
ก่อนหรือหลังรับประทานอาหาร
การขับถ่าย
ปัสสาวะ
ที่ผิดปกติ
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria)
ปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria หรือ Diuresis)
ไม่มีปัสสาวะ (Anuria/Urinary suppression)
ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia)
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย (Pollakiuria)
ส่วนประกอบของ
ปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน
ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน
คีโตนในปัสสาวะ พบในผู้ป่วยที่ขาดอาหารรุนแรง
ปัสสาวะเป็นหนอง จะเห็นปัสสาวะเป็นตะกอนสีขาวคล้ายน้ำนม
นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
น้ำตาลในปัสสาวะ มักพบในผู้ป่วยเบาหวาน
ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)สาเหตุที่ไต ท่อไต
หลักการพยาบาลผู้ป่วย
ได้รับการใส่ถุงยางอนามัย
เพื่อระบายปัสสาวะ
(Condomcatheter)
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
การดูแล
ต้องเปลี่ยนถุงยางอนามัยให้ผู้ป่วยทุกวัน
หลังจากที่เช็ดตัวหรืออาบน้ำเสร็จแล้ว
จึงใส่ถุงยางอันใหม่
ผู้ป่วยที่ใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะเป็นเวลานาน
มีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาตจะบวม แดง และถลอก
การเก็บปัสสาวะ
ส่งตรวจ
วิธีการจาก
สายสวน
ปัสสาวะที่คาไว้
ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงตำแหน่งที่ทำความสะอาดฆ่าเชื้อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกมาประมาณ 10 มล. ส่งตรวจเพาะเชื้อทันที
วิธีการเก็บปัสสาวะ
24 ชั่วโมง
เก็บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงแล้วส่งตรวจ เริ่มเก็บปัสสาวะเวลา 08.00 น.
วิธีการเก็บปัสสาวะ
แบบรองเก็บ
ปัสสาวะช่วงกลาง
ให้ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมา
ประมาณครึ่งภาชนะ หรือประมาณ 30-50 ml
โดยห้ามสัมผัสด้านในของภาชนะ แล้วปัสสาวะช่วงสุดท้าย
ทิ้งไป นำปัสสาวะไปส่งให้เจ้าหน้าที่โดยเร็วที่สุด