Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฏีการสร้างเสริมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ (Pender's Health Promotion…
ทฤษฏีการสร้างเสริมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ (Pender's Health Promotion Model)
ความหมายของพฤติกรรมสุขภาพ
Good,1959
การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทั้เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอก พฤติกรรมสุขภาพจะรวมถึงการปฏิบัติที่สังเกตได้ หรือการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตไม่ได้ แต่สามารถวัดได้ว่าเกิดขึ้น
ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์,2541
กิจกรรมหรือการปฏิบัติใดๆ ของปัจเจกบุคคลที่กระทำเพื่อจุดประสงค์ในการส่งเสริม ป้องกัน บำรุงรักษาสุขภาพ โดยไม่คำนึงถึงสถานะสุขภาพที่ดำรงอยู่รับรู้ได้ ไม่ว่าพฤติกรรมนั้นจะสมความมุ่งหมายหรือไม่
ประเภทพฤติกรรม
พฤติกรรมการป้องกันโรค
การปฏิบัติของบุคคลเพื่อป้องกันการเกิดโรค
พฤติกรรมการเจ็บป่วย
การปฏิบัติที่บุคคลกระทำเมื่อมีอาการผิดปกติหรือเจ็บป่วย
พฤติกรรมที่เป็นบทบาทขงการเจ็บป่วย
การปฏิบัติที่บุคคลทำหลังได้รับทราบผลวินิจฉัยแล้ว
พฤติกรรมเสี่ยง
บุคคลปฏิบัติแล้วก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ ทำให้เกิดโรค หรือ บาดเจ็บ
พฤติกรรมดูแลตนเอง
บุคคลทำกิจกรรมในการดูแลตนเอง ป้องกันโรคเพื่อไม่ให้เจ็บป่วย
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมส่งผลต่อการให้ความรู้ทางสุขภาพ
ความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม
การโฆษณาจากสื่อมวลชล
ค่านิยมที่เปลี่ยนไปเกิดลักษณะบริโภตนิยมและวัตถุนิยม
ความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณีและการปฏิบัติ
การศึกษาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
บางศาสนาให้อดอาหารในระยะถือบวช
การติดต่อคมนาคม
หลากหลายเชื่้อชาติ ภาษา ทำให้แบ่งแยก
ที่ตั้งและสภาพท้องที่
อิทธิพลกลุ่ม
การพัฒนาทฤษฏี Health Promotion Model
ฉบับปี ค.ศ. 1987
การเห็นความสำคัญของสุขภาพ
รับรู้ว่าสุขภาพสามารถควบคุมได้
รับรู้ความสามารถของตน
คำจำกัดความของสุขภาพ
การรับรู้สภาวะสุขภาพ
การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรม
การรับรู้ถึงอุปสรรค์ของพฤติกรรม
องค์ประกอบอื่น
ฐานแนวคิดจากทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม Albert Bandura 1997
ฉบับปี ค.ศ. 1996
พฤติกรรมเดิม ที่มีผลโดยตรงและโดยอ้อม และมีความเชื่อมโยงกับการรับรู้ถึงความสามารถของตน
กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับความรู้สึกทั้งด้านบวกและด้านลบ
การยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ
ความต้องการ ความชอบที่เกิดขึ้นแทรกทันที
ข้อตกลงเบื้องต้นของทฤษฎี (Assumptions of Health Promotion Model)
บุคคลจะสร้างเงื่อนไขของการดำรงอยู่
บุคคลมีความสามารถสะท้อนการตระหนักรู้และการประเมินความสามารถของตน
บุคคลมองคุณค่าของการเติบโตในทางบวกและพยายามที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย
บุคคลหาวิธีการที่จะทำให้พฤติกรรมดำเนินไปอย่างดี
บุคคลมีความซับซ้อนในลักษณะร่างกาย อามรมณ์ สังคม
บุคคลากรทางสุขภาพเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม มีอิธิพลต่อบุคคลทุกช่วงชีวิต
การปรับเปลี่ยนมุมมองต่อตนเองระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
คำอธิบายแบบจำลองส่งเสริมสุขภาะของเพนเดอร์
คุณลักษณะของบุคคลและประสบการณ์ของบุคคล
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมเดิมที่เป็นผลทั้งโดยตรงปละโดยอ้อมในการปรับพฤติกรมมสุขภาพ
ปัจจัยส่วนบุคคล
ชีววิทยา อายุ รูปร่าง วัย
จิตวิทยา แรงจูงใจ การรับรู้ สภาวะสุขภาพ
สังคมและวัฒนธรรม เชื้อชาติ การศึกษา ฐานะ
2. การคิดรู้และอารมณ์ที่จำเพาะต่อพฤติกรรม
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ
การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ
การรับรู้ความสามารถของตน
กิจกรรมและความเกี่ยวเนื่องผลที่ได้
อิทธิพลความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
อิทธิพลของสถานการณ์
3. ผลลัพธ์ของพฤติกรรม
ความยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ
ความต้องการความชอบที่เกิดขึ้นขณะนั้น
Competing demands
บุคคลสามารถเอาชนะได้บ้าง
Competing preferences
บุคคลมีพลังอำนาจในการที่จะควบคุมเล็กน้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถในการจัดการ
4. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
เป็นเป้าหมายที่ต้องการได้รัยสูงสุด โดยบูรณาการเป็นวิถีสุขภาพในการดำรงอยู่ เช่น ออกกำลังกาย ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เป็นประจำ
นางสาววิไลพร ชำนาญ รหัส 62102301111 เลขที่ 111