Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พืชสมุนไพร, นางสาวพิชญานิน นิสภา 622001059 เลขที่ 57 ปี 2 รุ่นที่ 37 -…
พืชสมุนไพร
ประวัติความเป็นมาของการแพทย์แผนโบราณ
พบศิลาจารึกของอาณาจักรขอม
พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงสร้างสถานพยาบาลเรียกว่า “อโธคยาศาลา”
ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง
บันทึกไว้ว่า
ทรงสร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่บนเขาหลวงหรือเขาสรรพยา เพื่อให้ประชาชนได้เก็บสมุนไพรไปใช้รักษาโรคยามเจ็บป่วย
สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
การจัดทำ
ตำรา พระโอสถพระนารายณ์
รัชกาลที่ ๑
ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม “วัดโพธิ์” ขึ้นเป็นพระอารามหลวง
ทรงให้มีการรวบรวมและจารึกตำรายา ฤๅษีดัดตน ตำราการนวดไว้ตามศาลาราย
รัชกาลที่ ๓
ทรงปฏิสังขรณ์วัดโพธิ์อีกครั้ง
ทรงโปรดเกล้าฯให้มีการจัดตั้งโรงเรียนแพทย์แผนโบราณแห่งแรก คือ“โรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์”
หลักเภสัช ๔ ประการ
สรรพคุณเภสัช
จะต้องรู้รสของตัวยานั้น ๆ ก่อนจึงสามารถทราบสรรพคุณได้
ยารสประธาน
คือ รสของยาที่ปรุงหรือผสมเป็นตำรับแล้ว
แบ่งออกเป็น
รสเย็น
เช่น
ยามหานิล
ยาเขียว
มีสรรพคุณแก้ทางเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) ระงับความร้อน
ได้แก่ ยาเข้าสมุนไพรที่ไม่ร้อน
เช่น
เขี้ยวสัตว์
เขาสัตว์
ใช้สำหรับแก้ไข้ในกองฤดูร้อน
รสร้อน
ได้แก่ ยาที่เข้าสมุนไพรรสร้อน สำหรับแก้ไข้ในกองฤดูฝน
เช่น
เหง้าขิง
กะเพรา
เบญจกูล
เช่น
ยาไฟประลัยกัลป์
ยาสัณฑฆาต
ยาประสะกานพลู
มีสรรพคุณแก้ในกองวาโยธาตุ (ธาตุลม)
แก้ลมกองหยาบ ลมจุกเสียดแน่น
ใช้สำหรับแก้ไข้ในกองฤดูฝน
รสสุขุม
เช่น
ยาหอมเนาวโกฐ
ยาหอมอินทจักร
มีสรรพคุณแก้ในกองอาโปธาตุ (ธาตุน้ำ)
ได้แก่ ยาที่เข้าสมุนไพรที่ไม่ร้อน
เช่น
กฤษณา
จันทร์เทศ
โกฐเทียน
แก้ไข้ที่ใช้ยารสเย็นไม่ได้
แก้ลมกองละเอียด ลมวิงเวียน ใจสั่น บำรุงกำลัง
ใช้สำหรับแก้ไข้ในกองฤดูหนาว
คือ รู้จักสรรพคุณของวัตถุนานาชนิดที่จะนำมาใช้เป็นยา
รสของตัวยา
รสยา ๔ รส ได้แก่ ฝาด เผ็ด เค็ม เปรี้ยว
รสยา ๖ รส ได้แก่ ฝาด เผ็ด เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม
รสยา ๘ รส ได้แก่ ฝาด เผ็ดร้อน เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม หอมเย็น มัน
รสยา ๙ รส ได้แก่ ฝาด เผ็ดร้อน เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม หอมเย็น มัน เมาเบื่อ
เภสัชกรรม
คือ รู้จักการเก็บตัวยา การปรุงยาตามที่กำหนดในตำรับยา
วิธีปรุงยา
การปรุงยา
คือ การผสมสมุนไพรต่าง ๆ
เพื่อแปรสภาพให้เป็นยารักษาและป้องกันโรค
การคัดเลือกและเก็บตัวยา
เก็บยาให้ถูกต้อง
ถูกส่วน
หมายถึง ราก ใบ ผล ดอก ต้น
ถูกต้น
ถูกฤดูกาลและช่วงเวลา
ถูกช่วงอายุพืช
การเก็บรักษายาสมุนไพร
พวกพืชที่มีกลิ่นหอมจำพวกใบและดอก
ไม่ควรเอาไปตากแดดโดยตรง
จะทำให้กลิ่นหอมจะระเหย สีดอกจะซีดไ
ควรผึ่งไว้ในที่ร่มแห้งมีลมโกรก
แล้วเก็บใส่ภาชนะปิดสนิทและไว้ในที่เย็น
ตัวยาบางชนิด ถ้าเก็บไว้นาน คุณภาพของตัวยาจะเสื่อมไปตามกาลเวลา
ตัวยาที่นำมาปรุงยา
ต้องทำความสะอาดไม่ให้มีสิ่งปนเปื้อนต่าง
หากเป็นสมุนไพรแห้ง
ควรเก็บในภาชนะที่แห้ง มีฝาปิดสนิท
ป้องกันแสงแดดส่องถึง
ข้อควรเข้าใจโดยทั่วไป
ยาสำหรับใช้ภายใน ถ้าไม่ได้ระบุวิธีปรุงยา ให้เข้าใจว่าใช้วิธีต้ม
ถ้าไม่ได้บอกว่าใช้สมุนไพรสดหรือแห้ง ให้ถือว่าใช้สด
ยาสำหรับใช้ภายนอก ถ้าไม่ได้ระบุวิธีปรุงยา ให้เข้าใจว่าใช้ตำพอก
ยารับประทาน ให้รับประทานวันละ 3 ครั้งก่อนอาหาร
การใช้ตัวยาอันตราย
การฆ่าฤทธิ์ตัวยา คือ การทำให้พิษของยาอ่อนลง เช่น การฆ่าสารปรอท
การประสะ คือ การทำให้พิษของตัวยาอ่อนลง เช่น การประสะยางสลัดได
การสะตุ คือ การทำให้ตัวยามีฤทธิ์อ่อนลง หรือทำให้พิษของตัวยาน้อยลง
กระสายยา
วัตถุประสงค์
เพื่อให้กลืนยาง่าย ไม่ฝืดหรือติดคอ และช่วยแต่งให้มีรส สี กลิ่น น่ารับประทาน
เพื่อช่วยให้ยามีฤทธิ์ตรงต่อโรค นำฤทธิ์ยาให้แล่นเร็ว ทันต่ออาการของโรค
เพื่อเพิ่มสรรพคุณของยาให้มีฤทธิ์แรงขึ้น ให้มีฤทธิ์ช่วยตัวยาหลักในการรักษาอาการข้างเคียง
คือ น้ำหรือของเหลวที่ใช้สำหรับละลายยา
เภสัชวัตถุ
ชนิดของวัตถุ
สัตว์วัตถุ
ได้แก่
ร่างกาย
อวัยวะของสัตว์ทั้งหลาย
ธาตุวัตถุ แร่ธาตุต่าง ๆ
พืชวัตถุ
ได้แก่
พรรณไม้ต่าง ๆ
หลักในการพิจารณาตัวยา
สี คือ การรู้สีของตัวยานั้น
กลิ่น คือ การรู้กลิ่นของตัวยานั้น
รูป คือ การรู้รูปลักษณะของตัวยานั้น
รส คือ การรู้รสของตัวยานั้น
ชื่อ คือ การรู้ชื่อของตัวยานั้น
จะต้องรู้ลักษณะพื้นฐานของตัวยาหรือสมุนไพรแต่ละชนิด
ตัวยาประจำธาตุ
ร่างกายของมนุษย์เราประกอบขึ้นจากธาตุทั้ง ๔ ชนิด
ธาตุดิน ๒๐ ประการ
ธาตุน้ำ ๑๒ ประการ
ธาตุลม ๖ ประการ
ธาตุไฟ ๔ ประการ
อากาศธาตุ คือ ช่องว่างในร่างกาย ๑๐ ประการ
คณาเภสัช
พิกัดยา แบ่งได้เป็น
จุลพิกัด
คือ มีตัวยาชนิดเดียวกันรวมกัน ๒ อย่าง
เช่น
กะเพราทั้ง ๒ = กะเพราแดง + กะเพราขาว
ผักหวานทั้ง ๒=ผักหวานบ้าน + ผักหวานป่า
พิกัด
คือ มีตัวยาต่างชนิดกันรวมกัน ๒ อย่างขึ้นไป
เช่น
พิกัดตรีผลา
พิกัดเบญจกูล
มหาพิกัด
โดยตัวยาแต่ละตัวมีสัดส่วนมากน้อยต่างกัน
เช่น
มหาพิกัดตรีผลา
สมอภิเภก 8 ส่วน
สมอไทย 4 ส่วน
แก้เสมหะสมุฏฐาน
มะขามป้อม 12 ส่วน
คือ มีตัวยาต่างชนิดกันรวมกัน ๓ อย่างขึ้นไป
คือ รู้จักการจัดหมวดหมู่ตัวยาหลายสิ่งหลายอย่าง รวมเรียกเป็นชื่อเดียว
กลุ่มยาขับลม บรรเทาอากาศท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขิง
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Dimenhydrinate
ข้อบ่งใช้
ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับลม แน่นจุกเสียด
วันละ 2-4 กรัม (4-8 แคปซูล)
ป้องกัน-บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการเมารถ
วันละ 1-2 กรัม (2-4 แคปซูล) ก่อนเดินทาง 30-60 นาที หรือมีอาการ
เบญจกูล
วิธีใช้
ครั้งละ 800 มิลลิกรัม-1กรัม (2แคปซูล)
วันละ 3 เวลา หลังอาหาร
ข้อบ่งใช้ ท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Simethicone
Mixt carminative
Diasgest
ขมิ้นชัน
วิธีใช้
วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ครั้งละ 500 มิลลิกรัม-1กรัม (1-2แคปซูล)
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Mixt carminative
Simethicone
ข้อบ่งใช้ ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ธาตุอบเชย
วิธีใช้
ครั้งละ 15-30 มิลลิลิตร(1-2ช้อนโต๊ะ)
วันละ 3 เวลา หลังอาหาร
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Mixt carminative
ข้อบ่งใช้ ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด แน่นท้อง
ยาสมุนไพร
คือ ยาที่ได้จากพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุ
ซึ่งยังไม่ได้นำมาผสมหรือเปลี่ยนสภาพ
เช่น
ว่านหางจระเข้
กระเทียม
มะขาม
มะเกลือ
ดีงูเหลือม
ดีเกลือ
สารส้ม
ยาแผนโบราณ
คือ การนำเอาสมุนไพร (พืช สัตว์ หรือแร่ธาตุ) มาผสม ปรุง หรือแปรสภาพ ตามตำรับยาแผนโบราณ
ยาเบญจกูล
มี
ดอกดีปลี บำรุงธาตุ ปถวี
รากช้าพลู บำรุงธาตุ อาโป
เถาสะค้าน บำรุงธาตุ วาโย
รากเจตมูลเพลิงแดง บำรุงธาตุ เตโช
ขิงแห้ง บำรุงธาตุ อากาศ
ปรับสมดุลธาตุทั้ง 4
กลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกรดูก
ยาใช้ภายนอก
ยาหม่องไพร น้ำมันไพร ครีมไพล
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดเมื่อย
วิธีใช้ ทา-ถูเบาๆ ตรงที่มีอาการวันละ 2-3 ครั้ง
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Analgesic balm
พริก
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ
วิธีใช้ ทาตรวที่ปวด 3-4 ครั้ง/วัน
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Diclofenac gel
ยารับประทาน
เถาวัลย์เปรียง
วิธีใช้
ครั้งละ 500 มิลลิกรัม-1กรัม (1-2แคปซูล)
วันละ 3 เวลา หลังอาหารทันที
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
กลุ่มยา NSIADs
เช่น
Diclofenac
ข้อบ่งชี้ ปวดกล้ามเนื้อ
สหัศธารา
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
tolperisone
กลุ่มยา NSIADs เช่น Diclofenac
วิธีใช้
ครั้งละ 1-1.5 กรัม (2-3แคปซูล)
วันละ 3 เวลา ก่อนอาหาร
ข้อบ่งใช้ ปวดตึงกล้ามเนื้อ
ยาแก้ไข
จันทร์ลีลา
วิธีใช้
เด็ก 6-12 ปี
ครั้งละ 500 มิลลิกรัม-1กรัม (1-2แคปซูล)
ทุก 3-4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
ผู้ใหญ่
ครั้งละ 1-2 กรัม (2-4 แคปซูล)
ทุก 3-4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
paracetamol
แก้ไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู
ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง
เสลดพังพอนกลีเซอรีน
ข้อบ่งใช้ ลดการอักเสบ รักษาเริมที่ริมฝีปาก แผลร้อนในในปาก
วิธีใช้ ทาตรงที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
0.1% Triamcinolone cram
เสลดพังพอนคาลาไมน์
ข้อบ่งใช้ ทาภายนอกเพื่ออาการผื่นแพ้
วิธีใช้ ทาตรงที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Calamine Lotion
ครีมเสลดพังพอน
วิธีใช้ ทาตรงที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Acyclovir cream
ข้อบ่งใช้ Herpie Simplex
ยาหม่องเสลดพังพอน
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวม จากแมลงกัดต่อย
วิธีใช้ ทาตรงที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง
กลุ่มยาบรรเทาอากาศท้องเสีย
ฟ้าทะลายโจร
ข้อบ่งใช้ ท้องเสียที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
วิธีใช้
ครั้งละ 500 มิลลิกรัม-2กรัม (1-4แคปซูล)
วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ธาตุบรรจบ
ข้อบ่งใช้ ท้องเสียที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
วิธีใช้
เด็ก 6-12 ปี
ครั้งละ 500 มิลลิกรัม(1แคปซูล)
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเมื่อมีอาการ
ผู้ใหญ่
ครั้งละ 1 กรัม (2แคปซูล)
วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเมื่อมีอาการ
ยาบรรเทาอาการหวัด
ฟ้าทะลายโจร
ข้อบ่งใช้ เจ็บคอ มีอาการไข้หวัดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
วิธีใช้
ครั้งละ 1.5-3กรัม (4-7แคปซูล)
วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ปราบชมพูทวี
วิธีใช้
ครั้งละ 750มิลลิกรัม-1.5 กรัม (2-3แคปซูล)
วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
ยากลุ่มAntihistamins
เช่น
Chlorpheniramine (CPM)
Loratadine
กลุ่มยาบรรเทาอากาศท้องผูก
ชุมเห็ดเทศ
วิธีใช้
ครั้งละ 3-6 กรัม(1-2ซองชา)
ชงน้ำร้อนประมาณ 120-200 มิลลิลิตร นาน 10 นาที
วันละ 1 ครั้ง ก่ออนนอน
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Bisacodyl
ข้อบ่งใช้ ท้องผูก
ยาลดความอยากบุหรี่
หน้าดอกขาว
วิธีใช้
ครั้งละ กรัม (1ซองชงชา)
ชงน้ำร้อน 120-200 มิลลิตร
หลังอาหาร วันละ 3-4 ครั้ง
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
Bupropion,Varenicline
ข้อบ่งใช้ ลดความอยากบุหรี่
นางสาวพิชญานิน นิสภา 622001059 เลขที่ 57
ปี 2 รุ่นที่ 37