Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 ความเป็นครู หลักธรรมาภิบาล, บทที่ 11 ความเป็นครู-หลักธรรมาภิบาล …
บทที่ 11 ความเป็นครู
หลักธรรมาภิบาล
บทนำ
การจัดการเรียนการสอนด้วยหลักธรรมาภิบาลผนวกกับหลักคุณธรรม
จริยธรรมเป็นกลไกล เครื่องมือและแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญบูรณาการการสอนแก่ผู้เรียนเพื่อเป็นพลังผลักดันทำให้การศึกษามีระบบมาตรฐานและคุณภาพ
การบูรณาการการสอนแก่ผู้เรียน โดยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ
หลักความโปร่งใส
หลักการมีส่วนร่วม
หลักความรับผิดชอบ
หลักความคุ้มค่า
หลักนิติธรรม
หลักคุณธรรม
การบริหารจัดการโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จ ไม่มีทฤษฎีที่เหมาะสมที่สุด สามารถบูรณาการปรับให้เหมาะสมตกับสภาพเหตุการณ์สถานที่ ระยะเวลา และปัจจัยแวดล้อม
ความหมายของธรรมาภิบาล
เป็นการบริหารที่มีความชอบธรรม ความโปร่งใส ความยุติธรรม การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ความถูกต้อง และสามาถตรวจสอบได้ว่าการดำเนินงานกิจการมีประสิทธิภาพของบุคลากรในองค์การและสร้างองค์การให้มีความมั่นคงยั่งยืนและมีเสถียรภาพ
ธรรมาภิบาลมาจากคำว่า Good governance
หมายถึง การบริหารของภาครัฐ ที่มุ่งความดีงามและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่รัฐและประชาชนอย่างทั่วถึงและยุติธรรม ธรรมาภิบาลจึงประกอบด้วย
มีความโปร่งใส
ไม่มีคอร์รัปชั่นหรือผลประโยชน์ทับซ้อน มีความยุติธรรมอย่างทั่วถึง
ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วิวัฒนาการของธรรมาภิบาล
เป็นแนวคิดที่มีมาแต่สมัยเพลโต และอริสโตเติล
รูปแบบอภิบาลที่ดีเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ช่วงต้น พ.ศ. 2523 ภาครัฐที่เป็นอยู่ไม่สอดคล้องกับเศรษฐกิจและสังคม มีการปฏิรูป และปรับปรุงการปกรองใหม่ ทำให้ ธนาคารโลกและกองทุนนานาชาติ ได้เข้ามามีบทบาท “ธรรมาภิบาล”
ตั้งแต่สมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้นไป รัฐบาลเกือบทุกสมัยพยายามปฏิรูประบบราชการของประเทศ แต่ไม่สำเร็จ
สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ มีนโยบายการจำกัดการขยายตัวของข้าราชการและลูกจ้างได้ไม่เกินร้อยละ 2 ของจำนวนข้าราชการที่มีอยู่ ไม่สามารถยับยั้งการเติบโตของส่วนราชการได้
รัฐบาลได้ออกระเบียบว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหน่วยงานรัฐ
รัฐบาลอานันท์ ปันยาชุน ให้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพลดขนาดส่วนราชการ เพิ่มคุณภาพและคุณธรรมในการสรรหาบุคลากร
สมัยของนายชวน หลีกภัย พ.ศ. 2540-2543 มีโครงการเกษียณก่อนกำหนด
ปัจจุบัน ได้นำแนวคิดของธรรมาภิบาลมาผสมผสานกับรุปแลลการปกครองที่ใช้อยู่ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างของระบบราชการ และบัญญัติในกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ธรรมาภิบาล
UNESCAP กำหนดไว้ 8 หลักการ
การมีส่วนร่วม
การปฏิบัติตามกฎ
ความโปร่งใส
ความรับผิดชอบ
ความสอดคล้อง
ความเสมอภาค
หลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล
8.การมีเหตุผล
ธรรมาภิบาลกับรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
ธรรมภิบาลมาจากการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนได้สร้างกระแสความคิดธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้น และสุดท้ายได้บรรจุธรรมภิบาลไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้หลายมาตรา และที่สำคัญบรรจุไว้เป็นแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ยุทธศาสตร์ของธรรมาภิบาล
เพื่อให้สามารถบรรลุตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 หรือเพื่อให้บรรลุตามแนวทางแห่งธรรมาภิบาล รัฐควรจะได้มียุทธศาสตร์ในการบริหารราชการ 17 ยุทธศาสตร์
ธรรมาภิบาลกับการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพ
การกระจายอำนาจทางการศึกษา
เป็นการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมทางการศึกษา โดยใช้ SWOT analysis
จุดแข็ง และโอกาส
พื้นที่
หน้าที่
การมีส่วนร่วม
ความก้าวหน้าของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
จุดอ่อน และอุปสรรคหรือข้อจำกัด
งบประมาณมีจำกัด
การขาดความจริงใจและเข้าใจของผู้ที่เกี่ยวข้องระดับนโยบาย
ระบบและโครงสร้างบริหารจัดการ
มีกลไกความร่วมมือน้อยในลักษณะของพหุภาคี
ธรรมาภิบาลกับการศึกษา
หลักธรรมาภิบาลกับการศึกษาเป็นการกระจายอำนาจการมีส่วนร่วมทางการศึกษา เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการปฏิรูปการศึกษาตามเจตนารมณ์แห่ง พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การบริหารโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ
เพื่อการบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนให้ประสบความสำเร็จได้นั้น ผู้บริหารต้องสร้างภาวะผู้นำ และควรยึดหลักวิชาความรู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาบูรณาการไปสู่การปฏิบัติที่เน้นการมีส่วนร่วมอย่างมุ่งมั่นและจริงจัง
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มีภาวะผู้นำสูง
กล้าที่จะคิด กล้าที่จะพูด กล้าที่จะนำ กล้าที่จะทำ
มีคุณธรรมและจริยธรรม ยึดพรหมวิหาร 4 เป็นธรรมะในการบริหารบุคคล
มีความรับผิดชอบสูง
มีวุฒิภาวะทางอารมณ์สูง
3.มีความมุ่งมั่น "สอนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น"
เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
2.มีความยุติธรรม การบริหารงานด้วยความเสมอภาคเป็นกลาง
มีความจริงใจ
มีความซื่อสัตย์สุจริต "แบบอย่างที่ดีย่อยอยู่เหนือคำสอนอื่นใด"
ธรรมาภิบาลกับกิจการนักเรียน
หลักคุณธรรม
หลักความโปร่งใส
หลักความมีส่วนร่วม
หลักความรับผิดชอบ
หลักนิติธรรม
หลักการคุ้มค่า
หลักการบริหารโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จสามารถนำหลักธรรมาภิบาลบูรณาการกับบริหารจัดการศึกษา พร้อมนำความรู้ความเชี่ยวชาญปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ สถานที่ ระยะเวลา และปัจจัยแวดล้อม
งานวิจัยเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลกับการศึกษา
ทับทิม ปันสา
ทำการวิจัยเรื่อง การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบสลของผู้บริหารสถานศึกษา
ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการของครูในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
กวี เจ๊ะหมัด และนพรัตน์ ชัยเรือง
วิจัยเรื่อง พฤติกรรมการบริหารสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
พบว่า ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลามของผู้บริหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช ใช้หลักธรรมาภิบาลตามบทบาทหน้าที่ ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน
บทที่ 11 ความเป็นครู-หลักธรรมาภิบาล
นางธนิดา วงศ์สัมพันธ์ 6220160339 (เลขที่ 1)