Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ (Age) ในเด็กเล็ก ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake) อาหารจาพวกพืชผัก ผลไม้ ที่มีกากใยมาก
ปริมาณน้าที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake) น้าจะเป็นตัวสาคัญที่ทาให้อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement) การเคลื่อนไหวของร่างกาย จะช่วยทาให้การทำงานของลาไส้เป็นไปอย่างปกติ ส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ
อารมณ์ (Emotion) เมื่ออารมณ์มีการเปลี่ยนแปลง เช่น หงุดหงิด หรือวิตกกังวล เป็นต้น
ความสม่าเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits ) การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน
ความเหมาะสม (Opportunity) สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่ายสถานที่ไม่เป็นส่วนตัว
ยา (Medication) อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดิน อาหารอาจทาให้ลาไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
อาการปวด (Pain) โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) การผ่าตัดส่วนลาไส้ตรง (Rectal surgery) และการผ่าตัดหน้าท้อง (Abdominal surgery)
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia) การดมยาสลบชนิดทั่วไป (General anesthesia: GA)
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test) การตรวจวินิจฉัยโรคของระบบทางเดินอาหารส่งผลรบกวนการทำงานของลำไส้ชั่วคราว
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type 1
Separate hard lumps, like nuts (Difficult to pass)
ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
Type 4
Like a sausage or snake, smooth and soft
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5
Soft blobs with clear-cut edges
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 3
Like a sausage but with cracks on surface
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ)
Type 6
Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 2
Sausage shaped but lumpy
(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 7
Watery, no solid pieces (entirely liquid)
(ลักษณะเป็นน้าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
อุณหภูมิของสารน้า อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)
แรงดันของสารน้าที่สวนให้แก่ผู้ปุวย
ท่านอนของผู้ปุวย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ
(Sim’s position)
การปล่อยน้า เปิด Clamp ให้น้าไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10 ปี ใช้ในปริมาณ 250–500 ml.
เด็กอายุ 10–14 ปี ใช้ในปริมาณ 500–750 ml.
เด็กเล็ก ใช้ในปริมาณ 150–250 ml.
ผู้ใหญ่ ใช้ในปริมาณ 750–1,000 ml.
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลาไส้
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น
ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood)
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture)
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ (Fecal examination หรือ Stool examination)
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
เพราะเป็นการขับของเสียออกจากร่างกาย
หากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทาให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลาไส้
ถ้าร่างกายมีการสะสมของเสียตกค้างเป็นเวลานานนั้น ย่อมมีโอกาสในการได้รับสารพิษกลับเข้าไปในร่างกาย
การสวนอุจจาระ
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema
Retention enema การสวนเก็บ
วิธีปฏิบัติ
จัดท่านอนให้ถูกต้อง คือนอนตะแคงซ้าย งอเข่าขวาไปข้างหน้า
คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณทวารหนักไม่เปิดเผย
ปูผ้ายางรองก้นบริเวณก้นของผู้ปุวย ปูองกันไม่ให้ที่นอนเปรอะเปื้อนและเปียกน้า
ล้างมือ สวมถุงมือ และต่อหัวสวนกับสายสวนให้แน่น
นาเครื่องใช้มาที่เตียง บอกผู้ปุวยให้ทราบถึงเหตุผลการสวน
ปิด Clamp หัวสวนไว้
การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน สะดวกในการปฏิบัติ
เปิด Clamp เพื่อไล่อากาศในสายสวน
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก (Constipation)
ประเภทของภาวะท้องผูก
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติในการทาหน้าที่ของไขสันหลัง
ฝิ่น หรือยาระงับปวด
ภาวะท้องผูกจากการลดลงของการเคลื่อนไหว
การทำหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
ภาวะผิดปกติของลาไส้
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) เกิดจากอุจจาระที่แห้งแข็งกดหลอดเลือดดารอบๆ ทวารหนัก ทาให้เลือดไหลกลับไม่สะดวกเกิดโปุงพอง และแตกได้
แบคทีเรียในลาไส้ จะเปลี่ยนยูเรียจากกากอาหาร เป็นแอมโมเนีย ดูดซึมเข้ากระแสเลือดไปยังสมองในผู้ปุวยโรคตับจะเกิดอาการ Hepatic encephalopathy
เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะวิงเวียน
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องผูก
แนะนำ กระตุ้น และช่วยให้ผู้ปุวยได้รับน้าให้เพียงพอ
แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสาคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
แนะนาให้ออกกาลังกาย การเคลื่อนไหวของร่างกายจะมีผลต่อการบีบตัวของลำไส้ช่วยให้การถ่ายอุจจาระเป็นปกติ
สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย พยายามลดการใช้จนสามารถเลิกใช้ยาระบาย
แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนามาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระ
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
สาเหตุ อาการเริ่มแรก
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระ
เป็นน้าเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกาย โดยการล้วงอุจจาระ (Evacuation)
อาจใช้ยาระบายเพื่อทาให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่น
การสวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยาไม่ได้ผล
การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
การล้วงอุจจาระออกโดยตรง เป็นการ
ช่วยเหลือผู้ปุวยในกรณีที่ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระออกเองไม่ได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด 2 คู่ และหน้ากากอนามัย
สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น ถ้าไม่มีใช้วาสลิน หรือสบู่เหลว
ผ้ายางรองก้นและกระดาษชำระ
หม้อนอนหรือ ถุงพลาสติกสาหรับใช่อุจจาระ
ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
สาเหตุ
มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลาไส้ปริมาณมาก
มีการสะสมของอุจจาระมาก
มีการสะสมของอาหารหรือน้ามาก
ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องอืด
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา
อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด
ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)