Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารตามธาตุ กับวัฒนธรรมจีน - Coggle Diagram
อาหารตามธาตุ
กับวัฒนธรรมจีน
ข้อมูลทั่วไป
เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดของทวีปเอเชีย
ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย
พื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร
ประเพณีจีน
เทศกาลกินเจ
วัตถุประสงค์
กินด้วยจิตเมตตา
กินเพื่อเว้นกรรม
กินเพื่อสุขภาพ
เทศกาลเช็งเม้ง
เป็นการไหว้บรรพบุรุษที่สุสาน ฮวงซุ้ย(แต้จิ๋ว)เป็นการแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ
วัฒนธรรมจีน
อาหารจีน
นิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป็นหลัก
อุปกรณ์
ตะเกียบ
อาหารจีน 2 ตระกูลใหญ่
อาหารเมืองเหนือ
อาหารเมืองใต้
อาหารบ่งชี้ชนชั้น
อาหารจึงเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและสถานะทางสังคม แสดงถึงตัวตนของผู้กิน
การแพทย์และยาแผนจีน
นจีนมีความเชื่อพื้นฐานว่ามนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติซึ่งประกอบขึ้นจากธาตุหยินและหยาง หากสภาพความสมดุลของหยินและหยางถูกทำลาย ก็ย่อมทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บขึ้น
วิธีการรักษาของการแพทย์แผนจีน
การรักษาภายในด้วยการรับประทานยา
การรักษาภายนอกด้วยยาทา
วิธีการรักษาโดยไม่ใช้ยาแบบอื่น
การฝังเข็ม
คือทฤษฎีเส้นทางการไหลเวียนของเลือดลมภายในร่างกาย
วิธีการฝังเข็ม
จะเลือกฝังเข็มบนจุดลมปราณที่อยู่บนเส้นทางการไหลเวียนของเลือดลมต้องจำแนกว่าอาการดังกล่าวจัดเป็น
อาการที่เกิดจากภายนอกหรือภายใน
เกิดจากความหนาวหรือความร้อนหรือเกิดจากความแกร่งหรือความพร่อง
ทฤษฎีธาตุห้าวัฒนธรรมอาหารจีน
เชื่อว่าอาหารที่ดี ไม่ได้ทำหน้าที่แค่ให้ท้องอิ่มหรือรสชาติดีเป็นสำคัญ
ต้องทำหน้าที่เป็นยา การปรุงอาหารจึงต้องรู้หลักความสมดุลหยิน-หยา
การกินจึงต้องคำนึงถึงฤดูกาล สภาพแวดล้อม อากาศ และอาหารที่ให้ฤทธิ์ร้อน-เย็น รวมทั้งรสชาติที่ส่งผลต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
ความเชื่อเกี่ยวกับวัฒนธรรมอาหารจีน
คนจีนมีความเชื่อที่ว่า ดินน้ำถิ่นใด ก็เพื่อเลี้ยงผู้คนถิ่นนั้น’
คนกวางตุ้งกินได้ทุกอย่างไม่ว่าจะอยู่บนฟ้า ในน้ำ หรือบนดินก็จับมาปรุงอาหารได้หมด
หอย ปู ปลา
เหย่เว่ย
ไก่ หมู กุ้ง
ทฤษฏีหยิน – หยาง
ร่างกายมนุษย์จำเป็นต้องดำรงหยิน-หยางให้คงไว้ในสภาวะสมดุล
โรคหยาง เป็นโรคชนิดเฉียบพลัน
อาการ
ไข้สูง
กระสับกระส่าย
กระหายน้ำ
ชอบกินของเย็น
ท้องผูก ขัดเบา
โรคหยิน เป็นโรคชนิดเรื้อรัง
อาการ
เซื่องซึม
ไม่มีเรี่ยวแรง
เย็นง่าย หนาวง่าย
ทานอาหารน้อยลง ท้องเดิน
การกินตามหยิน– หยาง
ปกติคนเราต้องมีหยินและหยางเท่ากันหากอย่างใดอย่างหนึ่งมากหรือน้อยไปจะเกิดโรคในการกินอาหารจึงต้องสังเกตว่าสภาพร่างกายของตัวเองร้อนหรือเย็น
อาการที่พบบ่อยเมื่อไม่อยู่ในภาวะสมดุล
หยางพร่อง
กิดจากความอบอุ่นหรือไฟในร่างกายน้อยลง ข้างในจึงเย็น มีอาการฝ่ามือ – ฝ่าเท้าเย็นหนาวง่าย ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน หน้าตาซีดเซียว
หยางเกิน
กิดจากหยางพุ่งขึ้นข้างบน ทำให้เลือดพุ่งขึ้นข้างบนทำให้มีอาการหน้าแดง ตาแดงโมโหง่าย ความดันโลหิตสูง
หยินพร่อง
สารที่เป็นน้ำในร่างกายน้อยทำให้มีอาการคล้ายคนขาดน้ำ คือ ร้อนใน
ปากแห้ง คอแห้ง