Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่10 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน - Coggle Diagram
บทที่10 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน
ความหมายของปฏิสัมพันธ์
เป็นอิทธิพลที่มีต่อกันระหว่างบุคคลหรือเป็นพฤติกรรมทางสังคมและอารมณ์ เป็นปฏิสัมพันธ์เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม ปฏิสัมพันธ์เกิดขึ้นมนระหว่างการเรียนรู้ คนเรามีปฏิสัมพันธ์อยู่รอบ ๆ ตัวเสมอ
การปฏิสัมพันธ์ที่เป็นการแสดงบทบาทในฐานะผู้นำครู
การแสดงถึงบุคลิกภาพของครู มีผลต่อการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
พฤติกรรมของครูที่แสดงออกตามเจตคติและความคาดหวัง
ในบริบทของห้องเรียน ปฏิสัมพันธ์เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนและกิจกรรมประเภทต่าง ๆ
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนเป็นปัจจัยสำคัญมากในกระบวนการเรียนการสอนและการจัดการชั้นเรียน
พฤติกรรมที่ครูรู้จักใช้การเสริมแรงที่เหมาะสม
การมีปฏิสัมพันธ์เป็นการเสริมแรงอย่างดีในการให้ผลย้อนกลับในบทเรียนเพราะเป็นการเรียนรู้ของมนุษย์ให้ความสนใจกับสิ่งเร้า และการรับรู้ และการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นับเป็นความสำคัญและช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียน
ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวรและพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน
เมื่อบุคคลเกิดการเรียนรู้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
การเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ความเข้าใจ และแนวคิด
การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม
ความเปลี่ยนแปลงด้านความชำนาญ และเลือกปฏิบัติจนทราบผล ประกอบไปด้วย
จุดมุ่งหมายของผู้เรียน
ความพร้อม
สถานการณ์
การแปลความหมาย
ลงมือกระทำ
ผลที่ตามมา
ปฏิกิริยาต่อความผิดหวัง
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและผู้เรียน
ความสัมพันธ์ที่ดี ครูสามารถประเมินความสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียนได้จากการสังเกตดังนี้
ครูมีความไวต่อปฏิกิริยาของผู้เรียน
ครูใส่ใจต่อความคิดเห็นของเด็กแต่ละคน
มีบรรยากาศการเรียนที่เป็นมิตร
โครงการส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและผู้เรียน ดังนี้
Socratic teaching ครูสอนคิด
growth mindset
peer tutoring บทบาทในการส่งเสริมความสัมพันธ์
Parental involvement การพบปะระหว่างครูกับผู้ปกครอง
Inclusion ครูมีความเข้าใจในการดูแลผู้เรียน
ความสัมพันธ์ที่ดีเป็นหัวใจของการศึกษาเป็นปัจจัยพื้นฐานในการเรียนรู้ของผู้เรียน
การพัฒนาความสำพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน – บรรยากาศในห้องเรียนเต็มไปด้วยความอบอุ่น
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง - เป็นการกระทำกิจกรรมตามการออกแบบการเรียนการสอนจนเกิดการเรียนอย่างแจ่มแจ้ง
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน – การให้ความใส่ใจเพื่อให้บรรยากาศในห้องเรียนเกิดการเรียนรู้
ความสำคัญของปฏิสัมพันธ์สร้างสรรค์
แนวมางในการสร้างปฏิสัมพันธ์สร้างสรรค์ประกอบด้วยพฤติกรรมของผู้ใหญ๋ที่มีต่อเด็ก 3 ประการ
ปฏิสัมพันธ์สร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อผู้เด็กปฐมวัย
เป็นปฏิสัมพันธ์เชิงบวกที่นำมาใช้ เพื่อสงเสริมพัฒนาการเด็กโดยองค์รวม
ปฏิสัมพันธ์สร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อผู้เด็กปฐมวัย
ช่วยให้ผู้เรียนกล้าทำสิ่งต่าง ๆ
ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียน
ช่วยให้ผู้เรียนกล้าทำสิ่งต่าง ๆ
ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณธรรมด้านการมีวาจาสุภาพ
ช่วยใหผู้เรียนมีความมั่นใจในตนเอง
ช่วยให้ครูสามารถจัดการกับชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานเด็กปฐมวัยต้องการได้รับความรักความอบอุ่น
ช่วยลดพฤติกรรมที่เป็นปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในชั้นเรียน